Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551
ประเด็นสำคัญที่นำมาเป็นกรอบในร่างพระราชบัญญัติสุขภาพจิต
1.มาตรการบังคับรักษา
1.1บุคคลนั้นมีภาวะอันตราย
1.2มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดและบุคคลนั้นขากความสามารภในการตัดสินใจ
2.การคุ้มตรองสิทธิผู้ป่วย
2.1ความยินยิมที่ได้รับการบอกกล่าว
2.2การปกปิดความลับของผู้ป่วย
2.3ได้รับการบำบัดตามมาตรฐานทางการแพทย์
3.การอุทธรณ์
ความผิดปกติทางจิต เป็นอาการที่แสดงออกทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด ความจำ สติปัญญา ประสาทรับรู้ หรือการรู้เวลา สถานที่ หรือบุคคล
ภาวะอันตราย เป็นพฤติกรรมที่บุคคลมีความผิดปกติทางจิต ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต
ความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา เป็นสภาวะที่ผู้ป่วยขาดความสามารถในการตัดสินใจให้การยินยอมรับการรักษาและต้องได้รับการบำบัดโดยเร็ว
สาระสำคัญ
หมวด 1 คณะกรรมการ
คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
นายกรัฐมนตรี/รองฯนายก เป็นประธานกรรมการ
รมต.สาธารณะสุข เป็นรองประธาน
กรรมการโดยตำแหน่ง
ผู้แทนองค์กรภาคเอกชน
อธิบดีกรมสุขภาพจิตเป็นเลขานุการ
ผุ้ทรงคุณวุติ
คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา
จิตแพทย์
แพทย์ทั่วไป
พยาบาลจิตเวช
นักกฎหมาย
นักจิตวิทยาคลินิก/นักสังคมสงเคราะห์
หมวด 2 สิทธิผู้ป่วย
มาตรา 15
ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์
ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบำบัดรักษา
ได้รับการคุ้มครองจากการวิจัย
ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคมและระบบอื่นๆ
มาตรา 16 ห้ามเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย
เว้นแต่
ในกรณีเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้อื่น
เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน
มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
มาตรา 17 การผูกมัดร่างกสย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้
เว้นแต่เป็นความจำเป็นเพื่อป้องงกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้อื่น
มาตรา 18 การรักษาด้วไฟฟ้า
ผู้ป่วยให้ความยินยอมหลังได้อธิบบายถึงความจำเป็น
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย
มาตรา 19
ผู้ป่วยให้ความยินยอมหลังได้อธิบบายถึงความจำเป็น
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย
มาตรา 20 การวิจัยทีี่กระทำกับผู้ป่วย
ได้รับการยินยอมเป็นหนังสือจากผู้ป่วย และต้องผ่านการเห็นชอบจจากคณะกรรมการ
หมวด 3 การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่ 1 ผุ้ป่วย
มาตรา 21 การบำบัดรักษาจะกระทำได้ต่อเมื่อ
ผู้ป่วยยได้รับการอธิบายเหตุผลในการบำบัดรักษา
ถ้าต้องรับผู้ป่วยไว้ในสถานบำบัดต้องได้รับความยินยอมโดยลงรายมือชื่อผู้ป่วย
ในกรณีที่ผู้ป่วยอายุไม่ถึง ิ18 ปีบริบูรณื หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจ ผู้ที่ลงรายมือชื่อในการยินยอมได้รับการรรักษา คือ คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาร ผู้ปกครอง ผู้อภิบาล
มาตรา 22 บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตใจ
มีภาวะอันตราย
มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
ส่วนที่ 2 ผู้ป่วยคดี
มาตรา 35
พนังงานสอบสวนหรือศาล ส่งผู้ต้องหาหรือจำเลย สถานบำบัดตรวจวินิจฉัยความผิดปกติทางจิต รายงานภายใน 45 วัน
ส่วนที่ 3 การฟื้นฟูสมรรถภาพ
มาตรา 40
ให้ผู้รับดูแลผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการให้บริการให้คำปรึกษา แนะนำ ฝึกอบรมทักษะ การจัดการศึกษา และส่งเสริมอาชีพ
มาตรา 41/1
ให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยที่ผ่านการบำบัดรักษาแล้วให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข
หมวด 4 กรมอุทธรณ์
มาตรา 42
ในกรณีที่คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา ให้ผู้ป่วยมีสิทธิอุทธรณืเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการอุทธรณืภายใน 30 วัน
หมวด 5 พนังงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 46
เข้าไปในเคหสถาน
ซักถามบุคคลใดๆ
มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดๆ มาเพื่อให้ถ้อยคำ ส่งคำชี้แจงเป็นหนังสือ หรือส่งเอกสาร
มาตรา 47
เจ้าหน้าที่แสงบัตรต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 48
ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องอำนวยความสะดวกตามสมควร
มาตรา 49
เจ้าพนักงงานตามประมวลกฏหมายอาญา
หมวด 6 บทกำหนดลงโทษ
มาตรา 50
ต้องระวางโทษจำคกไม่เกิน 1 ปีหรือปรับไม่เกิน 20000
มาตรา 51
ผุ้ใดแจ้งข้อความอันเป็นเท็จต้องระวางโทษจำคกไม่เกิน 1 ปีหรือปรับไม่เกิน 20000
มาตรา 52
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหนังสือของพนักงานเจ้าหน้าที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10000หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 53
ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องระวางโทษไม่เกิน 1 เดิอน หรือปรับไม่เกิน 10000 หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต(ฉบับที่2) พ.ศ.2562
สาระสำคัญ
เพิ่มอำนาจหน้าที่ของคณะกกรมกาารสุขภาพจิตแห่งชาติให้ครอบคลุมด้านการส่งเสริม ป้องกัน การควบคลุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพจิต
เพิ่มหน้าที่คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติเสนอยุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานต่อคณะรัฐนตรี
ห้ามสื่อทุกประเภทเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ประโยชน์ทางใด