Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพและสื่อสารเพื่อการบำบัด - Coggle Diagram
การสร้างสัมพันธภาพและสื่อสารเพื่อการบำบัด
1.การตระหนักรู้ในตนเอง และการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
คือ ความสามารถในการใช้บุคลิกภาพแลพความเป็นตัวตนของบุคคลอย่างมีสติ
พยาบาลจิตเวชต้อง
รู้จักตนเอง
มีความตระหนักในตนเอง
เข้าใจตนเอง
มโนมติพื้นฐานในการรู้จักและเข้าใจตนเอง
อัตตา หรือ ความเป็นตัวตนของตนเอง
อัตมโนทัศน์
ความตระหนักในตนเอง
• การรับรู้รูปแบบของตนเอง
แนวคิดของโรเจอร์ส
ตนตามที่รับรู้ (perceived self)
ตนตามความเป็นจริง (real self)
ตนตามอุดมคติ (ideal self)
แนวคิดของโบลส์และดาเวนพอร์ท
• การรู้จักตนในบริบทของสิ่งแวดล้อม
แนวคิดของโจเซฟ ลุฟท์
บริเวณที่เปิดเผย (Open Area)เราและคนอื่นก็รู้ด้วยว่าเป็นยังไง
บริเวณจุดบอด (Blind Area) คนอื่นมองเห็นว่าเราเป็นคนยังไง แต่เราไม่เห็น
บริเวณความลับ (Hidden Area) ปกปิดไม่ให้คนอื่นรู้
บริเวณอวิชชา (Unknown Area) เป็นส่วนที่เราไม่รู้ คนอื่นก็ไม่รู้ อาจเปิดเผยได้ไดโดยใช้วิธีการทางจิตวิทยาในการวิเคราะห์
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง
ความต้องการขั้นพื้นฐานของพยาบาล ---> ร่างกาย,จิตใจ
ประสบการณ์เกี่ยวกับความรู้สึกที่เคยเกิดขึ้นในอดีตและความรู้สึกที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน
ค่านิยม values , ความเชื่อ beliefs , ทัศนคติ attitudes ของพยาบาล
2.เงื่อนไขที่สำคัญในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
คือ กระบวนการนำสัมพันธภาพที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปทำความรู้จักกัน
Sullivan จิตใจและอารมณ์ของ
ผู้ป่วยที่แสดงออกมาเกิดจากปัญหาของสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
Peplau และ Sullivan ให้ความสำคัญของการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อแก้ไขปัญหา ให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิฑีที่จะสร้างสัมพันธภาพอย่างเหมาะสม
3.หลักการและขั้นตอนของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การสร้างสัมพันธภาพต้อง
กำหนดขอบเขตของการสร้างสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ
จะต้องอยู่บนพื้นฐานของการยอมรับในศักดิ์ศรี และความมีคุณค่าของความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย
3.หัวใจของการสร้างสัมพันธภาพจะต้องอยู่ที่การสร้างความไว้วางใจ
การสร้างสัมพันธภาพ ในผู้ป่วยที่มีปัญหาจิตสังคม
• สนทนาเรื่องที่สนใจ
• ใช้เทคนิคการสนทนาให้เหมาะสม
• ให้ความสนใจ
• กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้พูด ระบายความรู้สึก
ใช้เทคนิคการสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพเน้นการเป็นผู้ฟังที่ดีและกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
ช่วยให้กล่าวถึงความคิดและควาใรู้สึก --> ชี้แนะเพื่อกระตุ้นให้แสดงออก --> ใช้คำถามปลายเปิด --> ไวต่อความรู้สึก --> ใช้ความเงียบที่เหมาะสม
6.การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดในระยะแรก เน้นการกระตุ้นให้ผู่ป้วยได้ระบายอารมณ์ และเข้าใจอารมณ์ของตนเอง
กระตุ้นให้ใช้คำถามเกี่ยวกับอารมณ์ได้ชัดเจน
ใช้คำถามสืบค้นความรู้สึก
ใช้เทคนิคในการกระตุ้นความรู้สึกและเข้าใจอารมณ์ของตนเอง
7.เพื่อบำบัดด้วยการดสริมสร้างพฤติกรรมที่เหมาะสมในผู้รับบริการ เน้นให้เกิดการเรียนรู้ใหม่
องค์ประกอบของสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การสร้างความไว้วางใจ
ความจริงใจ
การเข้าใจความรู้สึกของผู้ป่วย
การยอมรับ
มีความรู้สึกในแง่ดี
การตระหนักรู้ในตนเองและการใช้ตนเอง
เพื่อบำบัด
4.เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
การฟัง --> การฟังอย่างตั้งใจ
4.1 เทคนิคที่ช่วยส่งเสริมความมีคุณค่า
การแสดงการระลึกได้ จำได้ (giving recognition)
การยอมรับ (accepting or showing acceptance)
การเสนอตัวเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย (offering self)
4.2 เทคนิคที่กระตุ้นการเปิดเผยตนเอง
การใช้คำถามกว้างๆ (giving broad opening state)
การใช้คำถาม (Question)
การกระตุ้นให้พูดต่อ (giving general lead)
การกระตุ้นให้พูดต่อในขณะที่สนทนาเพื่อทำให้การสนทนาดำเนินต่อไป
หยุดชพงักของความคิด คิดไม่ออกว่ากำลังพูดเรื่องอะไร
มีเหตุกาณ์ขัดจังหวะการสนทนา
การค้นหาข้อมูลให้มากขึ้น (exploring)
การใช้ความเงียบ (using silence)
การบอกกล่าวสิ่งที่สังเกตเห็นในตัวผู้ป่วย (making observation or sharing observation)
4.3 เทคนิคที่ช่วยทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน
การทวนซ้ำ(restating)
การสะท้อนความรู้สึก (reflecting)
การขอความกระจ่าง (seeking clarification or clarifying)
การตรวจสอบความเข้าใจตรงกัน (validation or seeking consensual validation)
4.4 เทคนิคที่เอื้อประโยชน์ต่อการตัดสินใจ
การให้ข้อมูล (giving infirmation)
4.5 เทคนิคที่ช่วยพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง
การมุ่งความสนใจไปจุดใดจุดหนึ่ง (focusing)
การให้ความจริง (presenting reality)
การสรุป (summarizing)
4.6 เทคนิคอื่นๆ
การลำดับเหตุการณ์ (placing the events in time or in sequence)
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ประเมินตนเอง (encouraging evaluation)
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้เปรียบเทียบ (encouraging comparison)
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยวางแผน (encouraging formulation of a plan of action)
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยอธิบายสิ่งที่ได้รับรู้มา (encouraging description of perception)
การตั้งข้อสงสัย (voicing doubt)
5.เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด
ปัญหาและอุปสรรคในการสื่อสารเพื่อการบำบัด
ความล้มเหลวจากการไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของการสื่อสารเพื่อการบำบัด
ความล้มเหลวในการวิเคราะห์หรือแปลความ
ความล้มเหลวในการฟัง
การสื่อสารที่ขาดประสิทธิภาพ
การให้กำลังใจโดยใช้คำพูดทั่วไปที่เป็นความเคยชิน (using reassuring)
การให้ความเห็นดีด้วยหรือเห็นพร้องกับผู้ป่วย (giving approval)
การแสดงความไม่เห็นด้วยกับความคิดและพฤติกรรมของผู้ป่วย
(disapproving)
การร่วมเห็นด้วยกับผู้ป่วย (agreeing)
การคัดค้านความติดเห็นของผู้ป่วย(disagreeing)
การให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยด้วยความคิดและวิธีการของพยาบาลเอง (giving advice)
การเรียกร้องการพิสูจน์จากผู้ป่วยหรือการท้าทาย
(Challenging)
การพูดซ้ำๆ ที่เป็นแบบเดียวกัน (making stereotyped commemnt)
การแก้ตัว (defending)
6.ปัญหาและการแก้ปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การเริ่มต้นสร้างสัมพันธภาพ
เป้าหมาย
• เพื่อสร้างความไว้วางใจในตัวพยาบาล
• เพื่อกำหนดข้อตกลงในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
• เพื่อประเมินความคิด ความรู้สึก ของผู้ป่วย
• เพื่อลดปัญหาในการสร้างสัมพันธภาพ
สิ่งที่พยาบาลต้องปฏิบัติ
สร้างความไว้วางใจ
การการกำหนดข้อตกลงของสัมพันธภาพ
การรักษาความลับของผู้ป่วย
การบอกการสิ้นสุดสัมพันธภาพ
ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในระยะเริ่มต้น
ความวิตกกังวล
แนวทางการแก้ไข --> เตรียมตัวให้พร้อมตั้งแต่ก่อนการสร้างสัมพันธภาพ
การทดสอบจากผู้ป่วย
แนวทางการแก้ไข --> แสดงการยอมรับในฐานะบุคคลอย่างไม่มีเงื่อนไข ยอมรับและเข้าใจพฤติกรรมของผู้ป่วย
การต่อต้านไม่ยอมรับการสร้างสัมพันธภาพกับพยาบาล
แนวทางการแก้ไขปัญหา -->ให้การยอมรับและเข้าใจพฤติกรรมของผู้ป่วย
ระยะแก้ไขปัญหา
เพื่อส่งเสริมการเปล่ยนแปลงของผู้ป่วย
ปัญหาที่มักเกิดในระยะแก้ไขปัญหา
พยาบาลอึดอัดและกังวลใจ
พยาบาลไม่เข้าใจหรือไม่เห็นปัญหาของผู้ป่วย
พยาบาลเกิดความสงสาร
ผู้ป่วยต้องการพึ่งพาพยาบาล
ความรู้สึกต่อต้าน
ระยะการยุติการสร้างสัมพันธภาพ
ประเมินและสรุปผลการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดที่เกิดขึ้น
มีการวางแผนในการบำบัดรักษา
ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในระยะการยุติการสร้างสัมพันธภาพ
ภาวะซึมเศร้า (depression)
เกิดความรู้สึกสูญเสีย ดสียใจ ท้อแท้หมดหวัง ถูกทอดทิ้ง
คิดว่าตนเองไร้ค่า ไม่มีผู้ใดสนใจ ช่วยเหลือ
ภาวะพึ่งพา (dependence)
การแยกจากอาจทำให้ผู้ป่วยรู้สึกขาดความั่นใจและความปลอดภัย
ผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่พึ่งพาพยาบาลมากขึ้น
ภาวะถดถอย (regression)
มีพฤติกรรมถดถอยเหมือนเด็ก หรือเหมือนเมื่อเริ่มสัมพันธภาพ เพื่อให้ได้รับการเอาใจใส่ดูแลเหมือนเดิม
ปฏิเสธการสิ้นสุดสัมพันธภาพ (denial)
เป็นกลไลปกป้องตนเองไม่ให้รู้สึกว่าตนถูกทอดทิ้ง พฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออก เช่น การมานั่งคอยตามปกติ
ก้าวร้าว (aggression)
เป้นกลไกปกป้องตนเองไม่ให้รู้สึกว่าตนถูกทอดทิ้ง
โดยแสดงความก้าวร้าวออกมา
7.การสร้างเสริมทักษะในการสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารเพื่อการบำบัด