Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:green_cross: บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบกระดูกและกล้ามเนื…
:green_cross:
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
!
การประเมินสภาพของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
Arthrocentesis
การเจาะเข้าไปในข้อโดยใช้
เข็มที่มีขนาดเหมาะสมกับข้อเพื่อนำน้ำไขข้อSynovial fluid ไปวิเคราะห์
Bone scan,X-RAY,Myelography,MRI,Electromyography : EMG
Arthroscopy
การตรวจสภาพภายในข้อโดย
การสอดใส่อุปกรณ์พร้อมเลนส์เข้าไปในข้อและตัดชิ้นเนื้อหรือนำน้ำภายในข้อมาตรวจ
Arthrography
ฉีดสารทึบแสงเข้าไปในข้อ
แล้วถ่ายภาพรังสี
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Uric acid เพิ่มขึ้น Gout
Serum Protein electrophoresis
Serum phosphorus
Alkaline phosphatase
Serum Lactic dehydrogenase (LDH)
SGOT เพิ่มขึ้น มีการท าลายของ Skeleton muscle
CPK
ESR (Erythrocyte sedimentation rate) เพิ่มในภาวะอักเสบติดเชื้อ
Serum K เพิ่มขึ้น มีการทำลายของ Skeleton muscle
Serum calcium
Urinary Calcium
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
โรคประจำตัว เช่น DM HT
การผ่าตัด,การแพ้ยา
ประวัติครอบครัว
อาการร่วมอื่นๆ เช่น อ่อนแรง ชา มีก้อน ไข้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ประวัติในอดีต
โรคทางพันธุกรรม,ประวัติโรคติดต่อในครอบครัว
ลักษณะรูปร่างผิดไปจากเดิม
อาชีพ
การสูญเสียความสามารถการทำงาน การเคลื่อนไหวผิดปกติ
สภาวะทางด้านจิตใจ
อาการปวด
ปวดบริเวณใด,ลักษณะการปวด,ระยะเวลาที่มีอาการปวด,สิ่งที่กระตุ้น หรือ บรรเทา อาการปวด
การตรวจร่างกาย
การดู,การคลำ,การเคาะ,การฟัง,การวัด,การขยับ,การตรวจพิเศษอื่นๆ
การรักษา การรักษาด้วยยา,การรักษาด้วยการผ่าตัด,การฟื้นฟูสภาพ
:<3:
การดึงถ่วงน้ำหนัก Traction
หมายถึง การใช้แรงดึงบริเวณแขน ขา ลำตัว หรือศีรษะโดยใช้น้ำหนักถ่วงส่วนของร่างกายในทิศทางตรงกันข้ามกับแรงดึงของกล้ามเนื้อ
:<3::
Skeletal traction
ยึดชิ้นกระดูกหักไม่ให้เคลื่อนออกจากกันบังคับให้ชิ้นกระดูกที่หักที่จัดเข้าที่แล้วไม่เคลื่อนหลุดจากกันดึงชิ้นกระดูกที่หักให้เข้าที่เดิม
:<3::
การดึงถ่วงน้ำหนัก Traction
2. Skeletal traction
เป็นการดึงถ่วงน้าหนักโดยตรงที่กระดูก ด้วยแท่งโลหะขนาดใหญ่(pins)สกรู(screws) ลวดขนาดเล็ก (wires) ผ่านเข้าไปในกระดูก
การพยาบาลก่อน On Skin traction
ด้านจิตใจ,ด้านร่างกาย ,เตรียมอุปกรณ์ ,เตรียมผิวหนัง
1. Skin traction
เป็นการดึงถ่วงน้ าหนักผ่านผิวหนัง
และ soft tissue ไปยังกระดูกโดยอาศัยแรงดึงระหว่างแถบพลาสเตอร์เหนียวกับผิวหนัง
:<3::
หลักการดึงถ่วงน้ำหนัก Traction
Prevent friction
: โดยลดแรงเสียดทาน โดยดูแลไม่ให้ตุ้มน้ำหนักแตะขอบเตียง
Continuous traction
: ควรดึงถ่วงน้ำหนักตลอดเวลา
Counter traction
: เป็นการใช้แรงต้านในทิศทางตรงข้ามกับแนวดึงที่เข้าtractionเพื่อให้การถ่วงน้าหนักได้ผลดี
Line of pull:
แนวการดึงต้องผ่านตำแหน่งที่กระดูกหัก
Correct body alignment
: รักษาแนวของลำตัวให้ถูกต้อง
Position
ของผู้ป่วย ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้เท่าที่จำเป็น
:<3::
Dressing Wound
เช็ดโดยรอบห่างจาก Pin site
ประมาณ 1 - 1 นิ้วครึ่ง
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ noninfectious orthopedics diseases
:<3:
Osteoporosis
เป็นโรคเกิดจากมวลกระดูกมีความหนาแน่นลดลงทำให้กระดูกเกิดการเปราะบางและแตกหักได้ง่ายโดยสามารถแบ่งออกได้เป็น :<3:
1 แบบปฐมภูมิ
เกิดจากการสูญเสียมวลกระดูกเกิดจากอายุที่เพิ่มมากขึ้น หรือไม่ทราบสาเหตุ :<3:
2 แบบทุติยภูมิ
เกิดจากการสูญเสียมวลกระดูกจากพฤติกรรม โรคหรือ การใช้ยา
พยาธิสภาพ
เกิดจากความผิดปกติ การสร้างเนื้อพื้น osteoid น้อยลงการทำลายกระดูกโดย Osteoclast มากขึ้น
ลักษณะทางคลินิก
ปวดหลัง ,ปวดกระดูกเรื้อรัง,หลังโก่ง,ตัวเตี้ยลง,Pathologic fracture เช่น fracture neck femur, Fx. distal radius,X-Ray,กระดูกโปร่งขึ้น พบ Pathologic fracture
การรักษา
Calcium + Vitamin D supplement ,Hormonal replacement,Calcitonin,Bisphosphonate,ออกกำลังกาย
การออกกำลังกายที่เหมาะสม
:<3::
1. การออกกำลังกายแบบใช้แรงต้าน(resistance exercise)
การใช้ยางยืด ที่ยก
น้ าหนัก dum bell :<3:
2. การออกกำลังกายแบบแอโรบิค (aerobic exercise)*
ควรทำอย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ชนิดที่
เหมาะสมกับผู้สูงอายุเช่น วิ่งเหยาะ ว่ายน้ำ
:<3:
Bone tumor
มะเร็งกระดูก แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะของเซลล์ที่ก่อกำเนิด
1. มะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ
โดยมากจะหมายถึงพวก sarcoma สาเหตุ จากความผิดปกติของยีน การได้รับรังสี การอักเสบติดเชื้อเรื้อรังความบกพร่องของระบบ เผาผลาญและฮอร์โมน แสงแดด และการสูบยาเส้น
2. มะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ
คือ มะเร็งที่แพร่กระจายจากอวัยวะอื่นมายังกระดูกหรือ carcinoma
การตรวจวินิจฉัย
X-RAY กระดูก ดูตำแหน่งปวด,MRI,Biopsy,Chest X-ray,CT Scan ปอด,การทำBone Scan เพื่อดูการกระจายของมะเร็ง
การรักษา
การผ่าตัด Osteotomy,เคมีบำบัด,รังสีรักษา
ลักษณะทางคลินิกของโรค
อาการชา อาการอ่อนแรง จนกระทั่งเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต
การพยาบาล
พยาบาลจะเป็นผูที่ชวยใหผู้ปวยรูสึกมีคุณค่าในตนเอง มีความหวังกำลังใจในการมีชีวิตอยูในช่วงสุดท้ายของชีวิต
:<3:
Rheumatoid arthritis*
อาการเด่น คือ ข้ออักเสบ มักเป็นกับข้อเล็กๆ เช่น มือและเท้า
การรักษา
การพักข้อ,การออกกำลังกาย,NSAID,DMARD (disease modifying anti-rheumatic drug),STEROID,การผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะความเจ็บปวดและขอแข็งเนื่องจากมีการอักเสบของขอและกลามเนื้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC,ESR,Rheumatoid factor,Synovial fluid,X-ray : osteoporosis
การพยาบาล
ประคบดวยความรอนและความเย็น,ดูแลนวดเบาๆ เพื่อใหกลามเนื้อคลายตัว ในการนวดไมควรนวดที่ขอโดยตรง,ขอที่เจ็บควรใสเครื่องพยุง (splint) ไว เพื่อใหขอนั้นไดพัก ลดอาการปวด
ลักษณะทางคลินิก
ข้อฝืดในตอนเช้า,ข้ออักเสบหลายข้อและสมมาตร
Gouty arthritis เป็นโรคที่มีการอักเสบของข้อชนิดเป็นๆหายๆ จากการที่มีกรดยูริคในเลือดมากกว่าปกติโดยส่วนใหญ่พบในชายวัยกลางคนและหญิงวัยหมดประจำเดือน
การรักษา
:<3:
ระยะอักเสบ
Colchicine,Indometacin,Corticosteroid :<3:
ช่วงไม่มีการอักเสบ*
ยาขับกรดยูริค Probenecid, Sulfinpyazone,Allopurinol
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
:<3::ปวดข้อ เนื่องจากพยาธิสภาพของโรค,มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาพลักษณ์,เสี่ยงต่อการเกิดนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ ดื่มน้ ามากๆ,ขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล อาหารที่มีกรดยูริคมากที่สุด ไม่ควรรับประทาน
การวินิจฉัย
:<3:
X-Ray
:<3:การตรวจทางห้องปฏิบัติการ**
อาการและอาการแสดง
1. Asymptomatic hyperuricemia,2. Acute gouty arthritis,3.Interval phase gout,4.Chronic gout,ก้อนผลึก Urate บริเวณใต้ผิวหนังใบหู, ข้อศอก,ข้อเท้า เรียกว่าTrophi
สาเหตุ
:<3::1. Primary Gout
เกิดจากไตไม่สามารถกำจัดกรดยูริคออกได้ตามปกติ มีกรดยูริคคั่งในเลือด (hyperuricemia)หรืออาจจากการที่ร่างกายผลิตกรดยูริคมากเกินไป :<3:2. Secondary Gout** เกิดในผู้ป่วยที่เป็นโรคที่มีผลิตสารพิวรีน (purine) เพิ่มขึ้นทำให้มี การสังเคราะห์กรดยูริคมากขึ้น
:<3:
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
:red_flag:
กระดูกหัก (Fracture)
กระดูกหรือส่วนประกอบของกระดูก เกิดการแตก แยก หรือขาดการ
เชื่อมต่อเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด
simple fracture
compound fracture
สาเหตุของกระดูกหัก
การได้รับแรงกระแทกโดยทางตรงหรือทางอ้อมแล้วส่งผลให้กระดูกแตกหรือแยกออกจากกัน อุบัติเหตุจากการจราจร การหกล้มหรือตกจากที่สูง
ประเภทของกระดูกหัก (Fracture)
1. :<3:: Avulsion Fracture :<3::2. Colles’ Fracture :<3::3. Comminuted Fracture :<3:: 4. Compression Fracture :<3::5. Direct Fracture :<3::6. Dislocation Fracture :<3::7. Double Fracture :<3::8. Epiphyseal Fracture :<3::9. Fatigue Fracture :<3::10. Greenstick Fracture :<3::11. Oblique Fracture :red_flag:12. Indirect Fracture :<3::13. Pathological Fracture :red_flag: 14.silver fork fracture :<3:: 15. Spiral Fracturer:16. Transverse Fracture
การรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
หลักการรักษา :<3:: Recognition การวินิจฉัย,Reduction การจัดกระดูกให้เข้าที่,Retention การดามกระดูกให้อยู่กับที่,Rehabilitation การฟื้นฟูสมรรถภาพ
การจัดกระดูกให้เข้าที่ (reduction)
1 การจัดเข้าที่แบบปิด (closed reduction) 2 การจัดเข้าที่แบบเปิด(opened reduction) 3.การดามกระดูกให้อยู่กับที่ (retention) 4. การฟื้นฟูสมรรถภาพ Rehabilitation
การรักษากระดูกหัก
:forbidden:การรักษาแบบประคับประคอง :forbidden::การรักษาโดยการผ่าตัด
Recognition การวินิจฉัย
X-ray,ถ่ายภาพรังสีโดยใช้สารทึบแสง Contrast media หรือAngiography,CT-SCAN,MRI
:<3:
External fixation หรือ การใส่โลหะยึดตรึงกระดูกรยางค์ภายนอก
หมายถึง การตรึงกระดูกที่หักด้วยโลหะซึ่งจะใส่อยู่ภายนอกร่างกายของผู้ป่วย
:<3:
ประกอบด้วย
แท่งโลหะปลายแหลมที่มีเกลียว(schanz screw) แท่งโลหะปลายแหลมที่ไม่มีเกลียว (pin) โครงยึดภายนอก (rod)ข้อต่อ (clamp) กรอบ (frame) ลวด (wire)
:<3:
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม (knee arthroplast)*
เป็นการผ่าตัดเปลี่ยนผิวที่คลุมกระดูกข้อเข่าทั้งหมด ทั้งกระดูก femur และ tibia อาจรวมถึงกระดูกสะบ้า (patella) ด้วย
:<3:
ข้ออักเสบจากการติดเชื้อ (septic
arthritis)
septic arthritis เป็นการอักเสบติดเชื้อที่กระดูกใกล้ข้อ หนองที่เกิดขึ้นจะไม่ผ่านไปทางผิวหนังแต่จะเข้าไปในข้อส่งผลให้มีการอักเสบติดเชื้อของข้อ (septic arthritis) ซึ่งข้อที่พบว่ามีการติดเชื้อบ่อยคือ ข้อสะโพกข้อเข่า ข้อไหล่ ข้อศอกและข้อมือ
:<3::
โรคข้อเสื่อม (osteoarthritis-OA)
เป็นโรคของข้อที่เกิดจากการเสื่อมของกระดูกอ่อนข้อต่อ (articular cartilage)
:<3:
กระดูกอักเสบจากการติดเชื้อ
(osteomyelitis)
เป็นการอักเสบติดเชื้อของกระดูกทุกชั้น ตั้งแต่ bone marrow,cortex จนถึงชั้น periosteum ตำแหน่งที่พบว่ามีการติดเชื้อบ่อยในวัยผู้ใหญ่คือ กระดูกสันหลัง เท้า และกระดูกต้นขา