Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉีย…
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
Anatomy of bone
กระดูกยาว (Long bones)
กระดูกสั้น (Short bones)
กระดูกแบน (flat bones)
กระดูกรูปแปลก (Irregular bones)
โครงสร้างของระบบกระดูกและ
กล้ามเนื้อ
-กระดูก (Skeleton)
-ข้อ(Joint)
-กล้ามเนื้อ(Muscle)
-เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน(Connective tissue)
เช่น กระดูกอ่อน(cartilage),เอ็น (Tendons)และเอ็นยึด(Ligaments)
กล้ามเนื้อแบ่งเป็น 2ชนิด
-กล้ามเนื้อเรียบ
-กล้ามเนื้อลาย
การประเมินสภาพของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
อาการปวด
-ปวดบริเวณใด
-ลักษณะการปวด
-ระยะเวลาที่มีอาการปวด
-สิ่งที่กระตุ้น หรือ บรรเทา อาการปวด
การสูญเสียความสามารถการทางาน การเคลื่อนไหวผิดปกติ
ลักษณะรูปร่างผิดไปจากเดิม
อาการร่วมอื่นๆ เช่น อ่อนแรง ชา มีก้อน ไข้ เบื่ออาหาร น้าหนักลด ฯลฯ
โรคประจาตัว เช่น DM HT
ประวัติครอบครัว-โรคทางพันธุกรรม
-ประวัติโรคติดต่อในครอบครัว
สภาวะทางด้านจิตใจ
การตรวจร่างกาย
-การดู
-การคลา
-การเคาะ
-การฟัง
-การวัด
-การขยับ
-การตรวจพิเศษอื่นๆ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
Arthrography
Arthroscopy
Arthrocentesis
Bone scan
X-RAY
Myelography
MRI
Electromyography : EMG
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Serum calcium
Serum phosphorus
Uric acid เพิ่มขึ้น Gout
Serum Protein electrophoresis
Alkaline phosphatase
Serum Lactic dehydrogenase (LDH)
SGOT เพิ่มขึ้น มีการทาลายของ Skeleton muscle
CPK
ESR (Erythrocyte sedimentation rate) เพิ่มในภาวะอักเสบติดเชื้อ
Serum Kเพิ่มขึ้น มีการทาลายของ Skeleton muscle
Urinary Calcium
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การฟื้นฟูสภาพ
Gouty arthritis
สาเหตุ
Primary Goutเกิดจากไตไม่สามารถกาจัดกรดยูริคออกได้ตามปกติ มีกรดยูริคคั่งในเลือด (hyperuricemia) หรืออาจจากการที่ร่างกายผลิตกรดยูริคมากเกินไป
Secondary Goutเกิดในผู้ป่วยที่เป็นโรคที่มีผลิตสารพิวรีน(purine) เพิ่มขึ้นทาให้มี การสังเคราะห์กรดยูริคมากขึ้น
อาการและอาการแสดง
Asymptomatic hyperuricemia
Acute gouty arthritis
Interval phase gout
Chronic gout
ก้อนผลึก Urateบริเวณใต้ผิวหนัง ใบหู, ข้อศอก, ข้อเท้า เรียกว่าTrophi
การรักษา
ระยะอักเสบ
1.1 Colchicine
1.2 Indometacin
1.3 Corticosteroid
ช่วงไม่มีการอักเสบ
ยาขับกรดยูริคProbenecid, Sulfinpyazone
Allopurinol
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปวดข้อ เนื่องจากพยาธิสภาพของโรค
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาพลักษณ์
เสี่ยงต่อการเกิดนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
ขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
อาหารที่มีกรดยูริคมากที่สุด
Rheumatoid arthritis
อาการเด่น คือ ข้ออักเสบ มักเป็นกับข้อเล็กๆ เช่น มือและเท้าข้อฝืดในตอนเช้า
ข้ออักเสบหลายข้อและสมมาตร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-CBC
-ESR
-Rheumatoid factor
-Synovial fluid
-X-ray : osteoporosisRheumatoid
การพยาบาล
1.แนะนาให้ผู้ป่วยพักข้อ
2.ประคบด้วยความร้อนและความเย็น
ดูแลนวดเบาๆ เพื่อให้กลามเนื้อคลายตัว ในการนวดไม่ควรนวดที่ขอโดยตรง
ดูแลให้ยาแกปวด
ขอที่เจ็บควรใสเครื่องพยุง (splint)
ดูแลใหผูปวยออกกาลังกายเพื่อใหขอตอตางๆเคลื่อนไหว
ใหผูปวยออกกาลังแบบ isometric exercise
หลีกเลี่ยงการจับขอที่อักเสบอยางแรงๆ
กระดูกพรุน (osteoporosis)
1 แบบปฐมภูมิ
2 แบบทุติยภูมิ
ลักษณะทางคลินิก
-ปวดหลัง ,ปวดกระดูกเรื้อรัง
-หลังโก่ง
-ตัวเตี้ยลง
-Pathologic fracture เช่น fracture neck femur, Fx. distal radius
การรักษา
Calcium + Vitamin D supplement
Hormonal replacement
Calcitonin
[Bisphosphonate]
5.ออกกาลังกาย
6หลีกเลี่ยงชา กาแฟ
Brace , Orthosis
Surgery –Pathological fractureกา
Bone tumor
มะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ (primary malignant bone tumor)โดยมากจะหมายถึงพวก sarcoma สาเหตุ จากความผิดปกติของยีน การได้รับรังสี การอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง ความบกพร่องของระบบ เผาผลาญและฮอร์โมน แสงแดด และการสูบยาเส้น
มีก้อนเกิดขึ้น
มีการผิดรูปของอวัยวะ เช่น แขนขาผิดรูป
มะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ (secondary malignant bone tumor or metastatic bone tumor) คือ มะเร็งที่แพร่กระจายจากอวัยวะอื่นมายังกระดูก หรือ carcinoma
อาการของทางระบบประสาท เช่น อาการชา อาการอ่อนแรง จนกระทั่งเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น
การรักษา
การผ่าตัด Osteotomyซึ่งเป็นวิธีการรักษาหลักของมะเร็งกระดูกปฐมภูมิ เนื่องจากสามารถผ่าตัดก้อนมะเร็งออก
เคมีบาบัด
รังสีรักษา
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
กระดูกหัก (Fracture)
การหักชนิดที่ไม่มีบาดแผลปรากฏ เรียกว่า closed หรือ simple fracture
การหักของกระดูกชนิดที่กระดูกแทงทะลุผิวหนังออกมาภายนอก เรียกว่า
open หรือ compound fracture
สาเหตุของกระดูกหัก
การได้รับแรงกระแทกโดยทางตรงหรือทางอ้อม
แล้วส่งผลให้กระดูกแตกหรือแยกออกจากกัน
อุบัติเหตุจากการจราจร
การหกล้มหรือตกจากที่สูง
การเล่นกีฬาที่ใช้กาลังมาก
ประเภทของกระดูกหัก (Fracture)
Avulsion Fracture
Colles’ Fracture
Comminuted Fracture
Compression Fracture
Direct Fracture
Dislocation Fracture
Double Fracture
Epiphyseal Fracture
Fatigue Fracture
Greenstick Fracture
Oblique Fracture
Indirect Fracture
Pathological
Spiral Fracture
Transverse Fracture
หลักการรักษา
1.Recognition การวินิจฉัย
2.Reduction การจัดกระดูกให้เข้าที่
3.Retention การดามกระดูกให้อยู่กับที่
4.Rehabilitation การฟื้นฟูสมรรถภาพ
การดึงถ่วงน้าหนัก Traction
กระดูกที่หักเป็นกระดูกระยางค์ขนาดเล็กไม่ต้องใช้แรงดึงมาก
Immobilize ให้อวัยวะส่วนที่บาดเจ็บได้พักอยู่นิ่ง ๆ เพื่อลดอาการปวดหรือก่อนผ่าตัด
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
การรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
1.Recognition การวินิจฉัย
การจัดกระดูกให้เข้าที่(reduction)
3.การดามกระดูกให้อยู่กับที่ (retention)
การฟื้นฟูสมรรถภาพRehabilitation
operational methods
-Internal Fixation
1.กระดูกหักเข้าข้อ และมีการเคลื่อนของกระดูกในข้อร่วมด้วย2.กรณีไม่สามารถรักษาด้วยวิธี closed reduction3.กระดูกในสูงอายุ4.กระดูกหักผ่าน epiphyseal ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตในผู้ป่วยเด็ก5.กระดูกหักเข้าข้อที่อาจมีผลทาให้ข้อยึดติดหากไม่ได้รับการรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยใส่
INTERNAL FIXATION
-การติดตามสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่อง
-การประเมินการสูญเสียเลือดจากการผ่าตัด
-การลดปวดบริเวณแผลผ่าตัด pain controlประเมินระดับความเจ็บปวด
โดยการใช้ Numeric rating scale
-การประเมินการทางานของระบบประสาทและการไหลเวียนโลหิต
-External Fixation
ข้อบ่งชี้ของการใส่ External fixation
กระดูกหักแบบมีแผลเปิด และแผลมีขนาดใหญ่รุนแรง
กระดูกหักที่มีการอักเสบ และติดเชื้อร่วมด้วย
กระดูกหักหลายๆแห่งในชิ้นเดียวกัน
กระดูกหักที่มีภยันตรายต่อหลอดเลือด และเส้นประสาทร่วมด้วย
กระดูกหักภายในข้อ
ต้องการเพิ่มความยาวของรยางค์ (limb lengthening)
การรักษากระดูกหักด้วยวิธีใส่เฝือก
1.เฝือกแขน ( Short arm cast )ตาแหน่ง ใส่ตั้งแต่ฝ่ามือถึงใต้ข้อศอก หรือข้อมือหัก
เฝือกแขน ( Long arm cast )ตาแหน่ง ใส่ตั้งแต่ฝ่ามือถึงต้นแขน
3.เฝือกแขน ( Arm cylinder cast ) ตาแหน่ง ใส่ตั้งแต่ข้อมือถึงต้นแขน
เฝือกขา ( Short leg cast) ตาแหน่งใส่ตั้งแต่ปลายนิ้วเท้าถึงใต้เข่า
เฝือกขา ( Leg cylinder cast ) ตาแหน่ง ใส่ตั้งแต่ข้อเท้าถึงต้นขา
เฝือกขา ( long leg cast )ตาแหน่ง ใส่ตั้งแต่ปลายเท้าถึงต้นขา
ในระยะ 3 วันแรก หลังใส่เฝือก
ให้วางเฝือกบนวัสดุนิ่ม เช่น หมอน หลีกเลี่ยงการวางเฝือกบนวัสดุแข็ง เช่น พื้นปูน
ประคองเฝือกในระหว่างที่เคลื่อนย้าย หรือ ลุกจากเตียงอย่างระมัดระวัง
หลีกเลี่ยงการกดหรือบีบเฝือกเล่น