Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล - Coggle Diagram
สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล
ระบบการจัดการขยะ
หน้าที่
กำหนดนโยบายการจัดการขยะเป็นลายลักษณ์อักษร
แต่งตั้งคณะกรรมการ / คณะทำงานรับผิดชอบโดยตรงท้าหน้าที่ก้ากับดูแล
วางแผนจัดการขยะในโรงพยาบาล ทบทวนปัญหาที่เกิดขึ้นประชุมสม่าเสมอและมีงบประมาณสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมต่อเนื่อง
บุคลากรผู้รับผิดชอบและผู้ปฏิบัติงานควรได้รับการอบรมเรื่องการจัดการขยะ
ตรวจสุขภาพผู้ปฏิบัติงานทุกปี
สื่อสารข้อมูลแนวปฏิบัติตามสายการบังคับบัญชา
ควบคุมกำกับและประเมินผล
ผู้บริหารกำกับติดตาม และบุคลากรมีส่วนร่วมในการประเมินผล
ผลกระทบ
• เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงและพาหะของโรค
• เป็นบ่อเกิดของโรค
• ก่อให้เกิดความรำคาญ
• ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
• ทำให้เกิดการเสี่ยงต่อสุขภาพ
• ทำให้ขาดความสวยงาม
• ถูกร้องเรียน / ฟ้องร้อง
ขยะในโรงพยาบาล
ขยะยังใช้ได้
ขยะทั่วไป
ขยะติดเชื้อ
ขยะเคมีบำบัด
ขยะอันตราย
ระบบการจัดการควบคุมสัตว์และแมลงพาหะน้าโรค
ยุง
ยุง (Mosquito) มีอยู่ทั่วโลกประมาณ 100 กว่าชนิด มีทั้งยุงที่นำโรคและก่อให้เกิดความรำคาญ แต่มียุงเพียง 3-4 ชนิด ที่เป็นพาหะนำโรค คือ ยุงก้นปล่อง ยุงลาย ยุงรำคาญ ยุงลายเสือ
การป้องกันการเกิดของยุง
การก้าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
2.การกำจัดยุง เพื่อตัดวงจรการแพร่เชื่อโรค
• การกำจัดตัวอ่อน (ลูกน้ำยุง)
• การกำจัดตัวแก่
แมลงวัน (Flies)
โรคที่แมลงวันเป็นพาหะ
โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
โรคที่เกิดจากเชื้อโปรโตซัว
โรคที่เกิดจากพยาธิ
โรคแผลหนอนแมลงวัน Myiasis
การควบคุมแมลงวัน
การควบคุมทางสิ่งแวดล้อม
การใช้สารเคมี
แมลงสาบ
มักอยู่ตามที่อับชื้น มืด เช่น ตามรอยแตก
ของผนัง ช่องระบายอากาศ ฯลฯ
การควบคุมแมลงสาบ
การควบคุมทางสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
กำจัดแคปซูลของแมลงสาบ
การใช้สารเคมี
หนู
ขนิดของหนู
Domestic rodents
2.Commensal rodents
Field rodents
Wild rodents
การควบคุมและก้าจัดหนู
การปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
การท้าลายหนูโดยตรง
แมลงและสัตว์ขาข้ออื่นที่สำคัญในทางสาธารณสุข
เรือด (Bed bugs)
ไร (Mites)
เห็บ (Ticks)
หมัด (Fleas)
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร
อันตรายในอาหาร
อันตรายด้านกายภาพ
ไม้แก้ว โลหะ หิน พลาสติก
กระดูก แมลง ส่วนของแมลง
เมล็ดผลไม้ เข็มกลัด ลวดเย็บกระดาษ ยางรัดผม เครื่องประดับ
อันตรายด้านเคมี
ยาฆ่าแมลง น้ำยาท้าความสะอาด สารเคมีฆ่าเชื้อ
สารเร่งเนื้อแดง ฮอร์โมน ยาปฏิชีวนะ บอแรกซ์
อันตรายด้านชีวภาพ
• อันตรายจากแบคทีเรีย
1.Bacterial Infection
2.Bacterial Intoxication
• อันตรายจากไวรัส
• อันตรายปรสิต / พยาธิต่าง ๆ
ระบบการจัดการน้ำเสียและสิ่งปฏิกูล
น้ำเสีย หมายถึง น้ำที่ผ่านการใช้มาแล้วและมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีมลสารหรือสิ่งปฏิกูลที่ละลายน้ำ & ไม่ละลายน้ำเจือปนอยู่
สิ่งปฏิกูล หมายถึง อุจจาระหรือปัสสาวะ และหมายรวมถึง
สิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครก / มีกลิ่นเหม็น
คุณภาพน้ำเสีย
• ความเป็นกรดและด่าง (pH) 5-9
• ค่าบีโอดี (BOD) ไม่เกิน 20 mg/l
• สารแขวนลอย (Suspended Solids) ไม่เกิน 30 mg/l
• ซัลไฟด์ (Sulfide) ไม่เกิน 1.0 mg/l
• สารที่ละลายได้ทั้งหมด (Total Dissolved Solids)มีค่าเพิ่มขึ้นจากปริมาณสารละลายในน้้าที่ใช้ตามปกติไม่เกิน 500 mg/l
• ตะกอนหนัก (Settleable Solids)ไม่เกิน 0.5 ml/l
• น้้ามันและไขมัน (Fat Oil and Grease) ไม่เกิน 20 ml/l
• ทีเคเอ็น (TKN)ไม่เกิน 35 ml/l