Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกัน ช่วยเหลือ เด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ :red_flag: - Coggle…
การป้องกัน ช่วยเหลือ เด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ :red_flag:
การสําลักสิ่งแปลกปลอมติดคอ
สาเหตุ
พบในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า3 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น มักเอาสิ่งแปลกปลอมใส่ไปในช่องต่างๆ ของร่างกาย
พยาธิสภาพ
อุดกั้นทางเดินหายใจส่วนต้น ทางเดินหายใจส่วนต้นของเด็กมีขนาดเล็กและแคบจึงส่งผลต่อภาวะขาดออกซิเจนและcyanosisตามมา
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัย
เนื้อเยื่อของร่างกายมีภาวะพร่องออกซิเจน
เนื่องจากการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนต้นกิจ
กิจกรรมการพยาบาล
รักษาเบื้องต้นอย่างรวดเร็ว
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
บันทึกสัญญาณชีพ ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินอาการและอาการแสดงของการอุดกั้นทางเดินหายใจ
เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
อาการและอาการแสดง
หายใจเข้ามีเสียงดัง
หายใจลำบาก
ขณะหายใจหน้าอกบุ๋ม
มีอาการไอ สำลัก ไออย่างรุนแรง
cyanosis
การรักษา
เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 1ปี
วางเด็กลงบนแขนของผู้ช่วยเหลือโดยให้ศีรษะต่ำเพื่อ(Five Back Blow)สลับด้วยการอุ้มเด็กนอนหงายบนแขน
ต่อด้วยใช้นิ้วกลางและนิ้วนางของมือขวากดบนหน้าอก (Five Chest Thrust) จนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุด
ใช้การตบหลัง (Back Blow) และกดบนหน้าอก (Chest Thrust) อย่างละ5ครั้ง
และเปิดปากดูสิ่งแปลกปลอม
เด็กโตอายุมากกว่า1ปี
ใช้เทคนิคกดบริเวณหน้าท้อง (Abdominal Thrust หรือHeimlich Manuever
ผู้ช่วยเหลือเข้าด้านหลัง ใช้แขนสองข้างโอบผู้ป่วย มือซ้ายประคองมือขวาที่กำมือวางไว้ที่ใต้ลิ้นปี่ ดันกำมือขวาเข้าใต้ลิ้นอย่างรวดเร็ว
เพื่อให้เกิดแรงดันในช่องท้อง ดันให้สิ่งแปลกปลอมหลุดออก
ไฟไหม้และนํ้าร้อนลวก
พยาธิสภาพ
เกิดการทำลายหลอดเลือดทําให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นตาย เลือดมาเลี้ยงน้อยลงและสารนํ้ารั่วออกนอกหลอดเลือด ซึ่งมีอัลบูมินทําให้เกิดการบวม
สาเหตุ
วัตถุที่ร้อน
กระแสไฟฟ้า
สารเคมี
รังสี
การเสียดสีรุนแรง
อาการ
ถ้าขนาดแผลใหญ่อาจทําให้ร่างกายสูญเสียนํ้า โปรตีน และเกลือแร่ ถึงกับเกิดภาวะช็อกได้ และอาจมีโอกาสติดเชื้อถึงขั้นเป็นโลหิตเป็นพิษและเสียชีวิตได้
ดีกรีความลึกของบาดแผล
First degree burn
เนื้อเยื่อถูกทําลายบางส่วน
มีอาการผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน ผิวหนังยังไม่พอง
เช่น แผลนํ้าร้อนลวก ไหม้แสงแดด
second degree burn
ลึกถึงผิวหนังชั้นใน ต่อมเหงื่อ และรูขุมขน
อาการบวมแดงมาก ผิวหนังพอง นํ้าเหลืองซึม ปวดแสบปวดร้อน
อาจทำให้สูญเสียนํ้า โปรตีน และเกลือแร่ และติดเชื้อได้ง่าย
Third degree burn
ทำลายหนังกำพร้า หนังแท้ทั้งหมด ต่อมเหงื่อ รูขุมขน เซลล์ประสาท และอาจลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือกระดูก
มักไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดที่บาดแผลเนื่องจากเส้นประสาทที่อยู่บริเวณผิวหนังแท้ถูกทำลาย(Hypertrophic scar or keloid)
มีโอกาสเกิดแผลหดรั้งทำให้ข้อยึดติด
การรักษา
ช่วยหายใจ
ให้สารนํ้า ดูแลระบบไหลเวียน
รักษาบาดแผล
ตกแต่งบาดแผล (debridement) กำจัดเนื้อตายจากบาดแผล ช่วยลดการติดเชื้อ
ปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft)ทำทุกรายที่ผิวหนังถูกเผาไหม้ทุกชั้นหลังจาก เนื้อเยื่องอกขึ้นมาเต็มและตัดเอาเนื้อตายออกหมด
การพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อขาดออกชิเจน
ติดตามประเมินสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ปัญหาเรื่องการหายใจ
ดูแลเปิดทางเดินหายใจให้โล่งและให้รับออกซิเจน
เสี่ยงต่อภาวะช็อค
ดูแลให้ได้รับสารนํ้าและอีเล็คโตรลัยท์ตามแผนการรักษา
วัดสัญญาณชีพ ความดันหลอดเลือดกลาง
ส่งตรวจและติดตามผลการตรวจอีเล็ดโตรลัยท์ในเลือด
ประเมินระดับการรู้สึกตัว
สังเกตและบันทึกปริมาณปัสสาวะที่ออก เด็กควรมีปัสสาวะออกไม่ตํ่ากว่า 1 มล/ก.ก./ชม.
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
จัดให้เด็กให้อยู่ในห้องแยกเฉพาะ
ดูแลให้เด็กได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ทำความสะอาดบาดแผลโดยเทคนิคปราศจากเชื้อ
สังเกตและประเมินลักษณะของบาดแผล
เสี่ยงต่อโภชนาการบกพร่อง
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารครบทั้งคุณภาพและปริมาณ
ชั่งนํ้าหนักวันละครั้ง เพื่อประเมินว่าเด็กได้รับสารอาหารเพียงพอ
สังเกตอาการที่เกิดในระบบทางเดินอาหาร เด็กอาจมีเลือดออกในการรับประทานอาหารจากการที่มีแผลในกระเพาะอาหาร
เสี่ยงต่อความพิการ
ดูแลให้เด็กบริหารกล้ามเนื้อบริเวณแขนขา ป้องกันการหดรั้ง และการยึดติดแข็งของข้อ
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลเพื่อช่วยให้แผลหายเร็วและไม่ลุลาม
ติดตามประเมินผลบริเวณกล้ามเนื้อหรือบริเวณอวัยวะทีเกิดแผล
การปฐมพยาบาล
ล้างด้วยนํ้าสะอาดอุณหภูมิปกติหรือเปิดนํ้าให้ไหลผ่าน หรือแช่อวัยวะส่วนที่เป็นแผลลงในนํ้าสะอาดประมาณ 15-20 นาที
ควรเป็นนํ้าธรรมดาจากก๊อกนํ้า ไม่ควรใช้นํ้าเย็นจัด เพราะอาจทำให้บาดแผลลึกมากขึ้นได้
การได้รับสารพิษ
การประเมิน
เพ้อชัก หมดสติ อัมพาตบางส่วน ขนาดช่องม่านตาผิดปกติอาจหดหรือขยาย
หายใจลำบาก มีเสมหะมาก เขียวปลายมือปลายเท้าริมฝีปาก ลมหายใจมีกลิ่นสารเคมี
อาเจียน ปวดท้อง นํ้าลายฟูมปากหรือมีรอยไหม้นอกริมฝีปาก มีกลิ่นสารเคมีที่ปาก
ตัวเย็นเหงื่อออกมากมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามผิวหนัง
ลักษณะการออกฤทธิ์
ระคายเคือง(Irritants)
ทำให้เกิดอาการปวดแสบปวดร้อนและอาการอักเสบในระยะต่อมา
ฟอสฟอรัส สารหนู อาหารเป็นพิษ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
กดระบบประสาท(Narcotics)
ทำให้หมดสติ หลีบลึก ปลุกไม่ตื่น ม่านตาหดเล็ก
ฝิ่น มอร์ฟีน พิษจากงูบางชนิด
กัดเนื้อ(Corrosive)
ทำให้เนื้อเยื่อไหม้ พอง
สารละลายพวก กรดและด่างเข้มข้น นํ้ายาฟอกขาว
กระตุ้นระบบประสาท(Dililants)
ทำให้เกิดอาการเพ้อคลั่งใบหน้าและผิวหนังแดงตื่นเต้นชีพจรเต้นเร็วช่องม่านตาขยาย
ยาอะโทรปีน ลำโพง
การปฐมพยาบาล
สารกัดเนื้อ
ถ้ารู้สึกตัวดีให้ดื่มนม
อย่าทำให้อาเจียน
รีบนำส่งโรงพยาบาล
สารพวกนํ้ามันปิโตเลียม
ห้ามทำให้อาเจียน
ระหว่างนำส่ง ถ้าอาเจียนให้จัดศีรษะตํ่าป้องกันการสำลักนํ้ามันเข้าปอด
รีบนำส่งโรงพยาบาล
สารพิษทางปาก
เจือจางด้วยนม ส่งรพ.ล้างท้อง หรือทําให้อาเจียน
ข้อห้ามในการทําให้อาเจียน
หมดสติ
ได้รับสารพิษชนิดกัดเนื้อ
ทานสารพิษพวกนํ้ามันปิโตรเลียม
ให้สารดูดซับพิษ Activated charcoal ถ้าไม่มีให้ใช้ไข่ขาว
สารเคมีถูกผิวหนัง
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมีเพราะความร้อนจากปฏิกิริยาทำให้เกิดอันตราย
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ล้างนํ้าสะอาด 15นาที
ปิดแผลแล้วนำส่งโรงพยาบาล
ยาแก้ปวด ลดไข้
ทำให้สารพิษเจือจาง
ให้สารดูดซับสารพิษ ที่อาจหลงเหลือในระบบทางเดินอาหาร
ทำให้อาเจียน
สารพิษทางการหายใจ
นำผู้ป่วย ออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์
ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ ถ้าไม่พบนําส่งรพ.ทันที
กลั้นหายใจ ทําให้อากาศถ่ายเท ขจัดต้นเหตุพิษ
สารเคมีเข้าตา
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมีเพราะความร้อนจากปฏิกิริยาทำให้เกิดอันตราย
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ล้างนํ้า 15นาที เปิดก๊อกไหลค่อยๆ
ปิดแผลแล้วนำส่งโรงพยาบาล
สารพิษ
เข้าร่างกายโดยการรับประทาน ฉีด หายใจ สัมผัสทางผิวหนัง ทำให้เกิดอันตรายต่อโครงสร้าง หน้าที่ร่างกาย ด้วยปฏิกิริยาทางเคมี ความรุนแรงขึ้นอยู่กับ คุณสมบัติ ปริมาณ ทางที่ได้รับสารพิษ
การจมนํ้า
วิธีการช่วยโดยเป่าปาก
เด็กโต
ให้นอนราบบนพื้นแข็ง วัดตำแหน่งที่เหมาะสำหรับการนวดหัวใจ ขอบชายโครงล่างของผู้ป่วยขึ้นไป จนถึงปลายกระดูกหน้าอก วัดเหนือปลายกระดูกหน้าอกขึ้นมา 2 นิ้วมือ
ผู้ช่วยเหลือยืดไหล่และแขนเหยียดตรง กดลงไปลึกประมาณ 2 นิ้ว หรือประมาณ 5 เซนติเมตร แนวดิ่ง และอย่ากระแทก ทั้งนี้ให้ทำสลับกับการเป่าปาก โดยเป่าปาก 2 ครั้ง กดหน้าอก 30 ครั้ง
การกดนวดหัวใจ ควรนวดเป็นจังหวะสมํ่าเสมอ ในอัตราเร็วอย่างน้อย 100ครั้ง/นาที
การพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะไหลเวียนล้มเหลวและเสียสมดุลอีเล็คโตรลัยท์
ติดตามผลอีเล็คโตรลัยท์จากการตรวจ บันทึกปริมาณนํ้าเข้าและออก
จำกัด ควบคุมการให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำในรายที่จมนํ้าจืด เพราะเด็กอยู่ในภาวะนํ้าเกินอยู่
เพิ่มปริมาตรของเหลวในหลอดเลือดในรายที่จมนํ้าเค็ม
สังเกตและประเมินสัญญาณชีพ ความดันหลอดเลือดดำกลาง ปริมาณสารนํ้าเข้า–ออก
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะทันทีตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งบอกถึงลักษณะของการติดเชื้อ
ภาวะขาดออกซิเจน
เพิ่มความอบอุ่นให้แก่ร่างกายให้อยู่ในระดับอุณหภูมิปกติเพื่อลดการเผาผลาญ ลดการใช้ออกซิเจน
สังเกตและประเมินอาการ ที่แสดงถึงภาวะการได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ จากสัญญาณชีพ สีผิว
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2แบบ
การจมนํ้าเค็ม ( Salt-water Drowning)
เกิดภาวะ pulmonary edema ปริมาตรนํ้าที่ไหลเวียนในร่างกายลดลง
เกิดภาวะ hypovolemia ระดับเกลือแร่ในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ช็อกได้
การจมนํ้าจืด (Freshwater-Drowning)
เกิด hypervolemia ทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย
อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกhemolysis
พยาธิ
หายใจในนํ้าครั้งแรก เด็กจะไอจากการระคายเคืองนํ้าในจมูกและคอ นํ้าเข้ากล่องเสียงเกิดการหดเกร็งของกล่องเสียง อากาศและนํ้าเข้าหลอดลมไม่ได้ เกิดภาวะขาดออกซิเจน
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
สาเหตุ
ได้รับอุบัติเหตุมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
อาการและอาการแสดง
บวม เนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักพลาสมาซึมเข้าสู่เนื้อเยื่อหรือกระดูกเกยกันก็ทำให้ดูบริเวณนั้นใหญ่ขึ้น
รอยจํ้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนังหรือรอยฟกชํ้าจากถูกแรง กระแทก
ปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพโดยเฉพาะเมื่อมีการเคลื่อนไหว
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป มีการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ
หลักการดูแลเข้าเฝือก
ยกส่วนที่เข้าเฝือกให้สูงเล็กน้อยโดยใช้หมอนรอง นานประมาณ 48 ชั่วโมง เพื่อช่วยลดอาการบวม
ดูแลเผือกห้ามเปียกนํ้า
24 ชม.แรกควรประเมินเด็กทุก 1 ชั่วโมง เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเผือกรัดแน่นเกินทำให้บวม หลอดเลือดและเส้นประสาทถูกกด สามารถประเมินได้จาก 5 PS
สังเกตบริเวณอวัยวะส่วนปลาย การไหลเวียนเลือด (pallor paresthesia)
เคลื่อนไหวนิ้วมือนิ้วเท้าไม่ได้จากเส้นประสาทถูกกด (paralysis)
อาการเจ็บปวดที่มากกว่าเดิม (pain)
อาการบวม (swelling) จากการเข้าเผือก
จับชีพจรว่าเต้นแรงตี (pulselessness)
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเคลื่อนไหวถูกจำกัด
กระตุ้นให้มีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ ที่ไม่ได้ถูกจำกัดการเคลื่อนไหวด้วยตนเอง ถ้าเข้าเผือกให้เกร็งกล้าม
เปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มนํ้าให้ เพียงพอ เพื่อช่วยให้การขับถ่ายอุจจาระเป็นไปได้ง่าย
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกหรือจัดดึงกระดูก
ดูแลให้เด็กรับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อที่ได้รับบาดเจ็บ
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่มเนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับโดยการสังเกต
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
เครียดวิตกกังวลจากความเจ็บปวด
อธิบายให้เข้าใจถึงแนวทางการรักษาพยาบาล การปฏิบัติตัว
จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
ประเมินอาการเจ็บปวดให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา