Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉีย…
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
Anatomy of bone
กระดูกยาว (Long bones)
ส่วนกลางเรียว คอดเป็นท่อกลวงเรียกว่า shaft ตอนปลายทั้งสองข้างจะโตออกเล็กน้อยเพื่อประกอบเป็นข้อต่อ เรียก Epiphysis เช่น กระดูกแขน ขา
กระดูกสั้น (Short bones) เป็นกระดูกท่อนสั้นๆ ประกอบด้วยกระดูกพรุน (Spongy bones) และหุ้มบางๆด้วยกระดูกแข็ง (Compact bones)
กระดูกแบน (flat bones) กระดูกชนิดนี้มีลักษณะแบนและบางประกอบด้วยกระดูก 3 ชั้น ชั้นนอกและชั้นในเป็นกระดูกแข็ง ส่วนชั้นกลางเป็นกระดูกพรุน เช่น กระดูกเชิงกราน กระดูกสะบัก กระดูกกะโหลกศีรษะ กระดูกซี่โครง
กระดูกรูปแปลก (Irregular bones) กระดูกพวกนี้มีรูปร่างต่างๆกัน ไม่แน่นอน
เช่น กระดูกสันหลัง
โครงสร้างของระบบกระดูกและ
กล้ามเนื้อ
กระดูก (Skeleton)
ข้อ(Joint
กล้ามเนื้อ(Muscle)
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน(Connective tissue)
เช่น กระดูกอ่อน(cartilage),เอ็นTendons
กล้ามเนื้อ
แบ่งเป็น 2 ชนิด
กล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อลาย
การหดตัวของกล้ามเนื้อ
การหดตัวสั้นเข้า เรียกว่า Isotonic contraction
2 การหดตัวแน่นเข้า เรียกว่า Isometric contraction
หน้าที่ของกระดูก
-ช่วยรองรับอวัยวะต่างๆให้ทรงและตั้งอยู่ในต าแหน่งที่ควรอยู่
-เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนไหว
-ช่วยป้องกันอวัยวะที่ส าคัญภายในร่างกายไม่ให้เป็นอันตราย
-เป็นที่เก็บธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกาย
การประเมินสภาพของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
-อาการปวด
-การสูญเสียความสามารถการท างาน การเคลื่อนไหวผิดปกติ
-ลักษณะรูปร่างผิดไปจากเดิม
-อาการร่วมอื่นๆ เช่น อ่อนแรง ชา มีก้อน ไข้
-โรคประจ าตัว เช่น DM HT
-ประวัติครอบครัว
-ประวัติในอดีต
-อาชีพ
-สภาวะทางด้านจิตใจ
-การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษอื่นๆ
-Arthrography ฉีดสารทึบแสงเข้าไปในข้อ
-Arthroscopy การตรวจสภาพภายในข้อโดย
การสอดใส่อุปกรณ์พร้อมเลนส์เข้าไปในข้อ
-Arthrocentesis การเจาะเข้าไปในข้อโดยใช้
เข็มที่มีขนาดเหมาะสมกับข้อเพื่อนำน้ำไขข้อ Synovial fluid ไปวิเคราะห์
-Bone scan
-X-RAY
-Myelography
-MRI
-Electromyography : EMG
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-Uric acid เพิ่มขึ้น Gout
-SGOT เพิ่มขึ้น มีการท าลายของ Skeleton muscle
-ESR (Erythrocyte sedimentation rate) เพิ่มในภาวะอักเสบติดเชื้อ
-Serum K เพิ่มขึ้น มีการท าลายของ Skeleton muscle
การรักษา
-การรักษาด้วยยา
-การรักษาด้วยการผ่าตัด
-การฟื้นฟูสภาพ
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ
noninfectious orthopedics diseases
Gouty arthritis
เก๊าท์(Gout) เป็นโรคที่มีการอักเสบของข้อชนิดเป็นๆ
หายๆ จากการที่มีกรดยูริคในเลือดมากกว่าปกติ ได้
พยาธิสรีรวิทยา
มีการเปลี่ยนแปลงระดับของกรดยูริคเกิดขึ้นในร่างกาย ทำให้ผลึกของกรดยูริคเกาะตามข้อ รวมถึงเนื้อเยื่อเกี่ยวพันจะพบ tophi ที่กระดูก
สาเหตุ
-อาจเกิดจากไตไม่สามารถกำจัดกรดยูริคออกได้ตามปกติ
มีกรดยูริคคั่งในเลือด (hyperuricemia)
หรืออาจจากการที่ร่างกายผลิตกรดยูริคมากเกินไป
-เกิดในผู้ป่วยที่เป็นโรคที่มีผลิตสารพิวรีน (purine) เพิ่มขึ้นทำให้มี การสังเคราะห์กรดยูริคมากขึ้น
อาการและอาการแสดง
Asymptomatic hyperuricemia
กรดuric ในเลือด > 7 mg/dl
ไม่มีอาการของโรคเกาต์
Acute gouty arthritis
มีอาการอักเสบเกิดขึ้น มักเกิดขึ้นกับข้อโคนนิ้วหัวแม่เท้า
3.Interval phase gout ช่วงไม่มีอาการ
4.Chronic gout
ก้อนผลึก Urate บริเวณใต้ผิวหนัง
ใบหู, ข้อศอก, ข้อเท้า เรียกว่า
Trophi
การรักษา
ระยะอักเสบ
1.1 Colchicine
1.2 Indometacin
1.3 Corticosteroid
2.ช่วงไม่มีการอักเสบ
2.1 ยาขับกรดยูริค Probenecid
, Sulfinpyazone
2.2 Allopurinol
Rheumatoid arthritis
อาการเด่น คือ ข้ออักเสบ มักเป็นกับข้อเล็กๆ เช่น มือและเท้า
ลักษณะทางคลินิก
-ข้อฝืดในตอนเช้า
-ข้ออักเสบหลายข้อและสมมาตร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-CBC,ESR,Rheumatoid factor,Synovial fluid , X-ray :osteoporosis,
การรักษา
-Synovectomy เป็นการผ่าตัดเลาะเยื่อบุข้อที่หนา
-Repair soft tissue เป็นการผ่าตัดซ่อมแซมเอ็น
กล้ามเนื้อ (tendon) ที่ถูกทำลาย
-Osteotomy เป็นการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนตำแหน่งการ
ลงน้ำหนักของข้อนั้นๆ
-Arthroplasty เป็นการผ่าตัด จัดหรือเปลี่ยนข้อ
-Arthrodesis การผ่าตัดเชื่อมข้อให้ติดกัน
-การพักข้อ,การออกกำลังกาย,NSAID,DMARD (disease modifying antirheumatic drug),STEROID
กระดูกพรุน (osteoporosis)
1 แบบปฐมภูมิเกิดจากการสูญเสียมวลกระดูกเกิดจากอายุที่
เพิ่มมากขึ้น หรือไม่ทราบสาเหตุ
2 แบบทุติยภูมิเกิดจากการสูญเสียมวลกระดูกจาก
พฤติกรรมโรคหรือการใช้ยา
พยาธิสภาพเกิดจากความผิดปกติ ใน- การสร้างเนื้อพื้น osteoid น้อยลง- เกิด Microfracture ,Pathologic fracture- การทำลายกระดูกโดย Osteoclast มากขึ้น
ลักษณะทางคลินิก
-ปวดหลัง ,ปวดกระดูกเรื้อรัง
-หลังโก่ง- Pathologic fracture เช่น fracture neck
femur, Fx. distal radius X-Ray
-กระดูกโปร่งขึ้น พบ Pathologic fracture
การรักษา
Calcium + Vitamin D supplement
Hormonal replacement
Calcitonin
Bisphosphonate
ออกกำลังกาย
6หลีกเลี่ยงชา กาแฟ
Brace , Orthosis
Surgery – Pathological fracture
การออกกำลังกายที่เหมาะสม
การออกกำลังกายแบบใช้แรงต้าน(resistance exercise) การใช้ยางยืด ที่ยกน้ำหนัก dum bell
การออกกำลังกายแบบแอโรบิค (aerobic
exercise)ทำอย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ชนิดที่
เหมาะสมกับผู้สูงอายุเช่น วิ่งเหยาะ ว่ายน้ำ
Bone tumor
มะเร็งกระดูก แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม
มะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ (primary malignant bone tumor)ก โดยมากจะหมายถึงพวก sarcoma สาเหตุ จากความผิดปกติ
ของยีน การได้รับรังสี การอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง ความบกพร่องของระบบ เผาผลาญและฮอร์โมน แสงแดด และการสูบยาเส้น
มะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ (secondary malignant bone tumor or metastatic bone tumor) คือ มะเร็งที่แพร่กระจายจากอวัยวะอื่นมายังกระดูก หรือ carcinoma
ลักษณะทางคลินิกของโรค
โรคมะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูม
มีก้อนเกิดขึ้น มีการผิดรูปของอวัยวะ
โรคมะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูม
อาการชา อาการอ่อนแรง จนกระทั่งเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต
การตรวจวินิจฉัย
X-RAY กระดูก ดูตำแหน่งปวด
Biopsy , MRI ,Chest X-ray, การทำ Bone Scan
การรักษา
การผ่าตัด Osteotomy
ซึ่งเป็นวิธีการรักษาหลักของมะเร็งกระดูกปฐมภูม
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
กระดูกหัก (Fracture)
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
สาเหตุของกระดูกหัก
1.อุบัติเหตุจากการจราจร
2.การหกล้มหรือตกจากที่สูง
3.การเล่นกีฬาที่ใช้กำลังมาก
4.โรคกระดูกเช่น เนื้องอกกระดูก
5.การหักที่เกิดจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
6.อาชีพ
ประเภทของกระดูกหัก
Avulsion Fractureการ
ดึงรั้งของเอ็นกล้ามเนื้อที่ยึด
กระดูกนั้นทำให้กระดูกถูกดึงหลุด
Colles’ Fracture กระดูกหักบริเวณ
ส่วนปลายด้านล่างกระดุกเรเดียส
Comminuted Fractureกระดูกแตกเป้นชิ้นเล็กชิ้นน้อย
Compression Fractureสาเหตุการที่กระดูกอัดเข้าแน่น
Direct Fractureตำ
แหน่งที่ได้รับอันตรายโดยตรง
Dislocation Fractureตำแหน่งที่ใกล้กับกระดูกหุ้มข้อ
Double Fracture
Epiphyseal Fracture
Fatigue Fracture
Greenstick Fracture
Oblique Fracture
Indirect Fracture
Pathological Fracture
14.Silver-Fork Fracture
Spiral Fracture
Transverse Fracture
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อ (ต่อ)
การรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
Recognition การวินิจฉัย
Reduction การจัดกระดูกให้เข้าที่
1 การจัดเข้าที่แบบปิด
(closed reduction)
2 การจัดเข้าที่แบบเปิด
(opened reduction)
การดามกระดูกให้อยู่กับที่ (retention)
การฟื้นฟูสมรรถภาพ Rehabilitation
-เครื่องมือไฟฟ้า เช่น เครื่องกระตุ้นกล้ามเนื้อไฟฟ้า EMS
การออกกำลังกาย
-การนวด การดึง การดัด
เป้าหมาย 2 วิธี
1.การรักษาแบบประคับประคอง
(Conservative methods)
2.การรักษาโดยการผ่าตัด(Operational methods)
closed reduction การจัดกระดูกที่หักให้เข้าที่ตามเดิม
immobilization ให้อวัยวะที่หักนั้นอยู่นิ่ง
Cast การใส่เฝือก
skin หรือ skeletal tractio
ประเภทของอุปกรณ์ดึงถ่วงน้ำหนัก Traction
Skin traction เป็นการดึงถ่วงน้ำหนักผ่านผิวหนังและ soft tissue ไปยังกระดูก
Skeletal traction เป็นการดึงถ่วงน้าหนักโดยตรงที่กระดูก ด้วยแท่งโลหะขนาดใหญ่(pins)สกรู(screws) ลวดขนาดเล็ก (wires)
Manual traction เป็นการดึงโดยใช้มือเป็นการดึงชั่วคราว
ข้อควรระวังในการ On Skin traction
-ไม่ติดแถบพลาสเตอร์ผ่านปุ่มกระดูกนูน
-ไม่ติดแถบพลาสเตอร์รอบแขน ขา
-ไม่ควรพัน Elastic bandage รัดแน่น ควรพันตั้งแต่ปลายเท้าขึ้นมาถึงส่วนบนสุดของแถบพลาสเตอร
Skeletal traction
ใช้รักษาผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่กระดูกบริเวณข้อศอกหัก
้ข้อบ่งชี้ในการ On Skeletal traction
-ยึดชิ้นกระดูกหักไม่ให้เคลื่อนออกจากกัน
-บังคับให้ชิ้นกระดูกที่หักที่จัดเข้าที่แล้วไม่เคลื่อนหลุดจากกันและให้กระดูกนั้นๆอยู่นิ่งๆ คือทำหน้าที่ immobilization
-ใช้กับกระดูกหักในต าแหน่งที่มีกล้ามเนื้อมัดใหญ่และแข็งแรง
ภาวะแทรกซ้อนการใส่ traction กดประสาท Peronealผู้ป่วยจะมีอาการปลายเท้าตก (foot drop)
Operational methods open reduction
-External Fixation
-Internal fixation
การตรึงกระดูกที่หักด้วยโลหะซึ่งจะใส่อยู่ภายนอกร่างกายของผู้ป่วย
ข้อดีทำให้มี rigid fixation ในผู้ป่วยกระดูกหักที่ไม่สามารถ
รักษาได้โดยการใส่เฝือก
ข้อเสีย-มีโอกาสเกิด neurovascular impairment
-Compartment syndrome
Internal fixation
การผ่าตัดเพื่อจัดกระดูกที่หักให้เข้าที่ โดยใช้วัสดุต่างๆ
การรักษากระดูกหักด้วยวิธีใส่เฝือก
ชนิดของการเข้าเฝือก
1.เฝือกแขน ( Short arm cast ) ตำแหน่ง ใส่ตั้งแต่ฝ่ามือถึงใต้ข้อศอก หรือข้อมือหัก
เฝือกแขน ( Long arm cast ) ตำแหน่ง ใส่ตั้งแต่ฝ่ามือถึงต้นแขน
3.เฝือกแขน ( Arm cylinder cast ) ตำแหน่ง ใส่ตั้งแต่ข้อมือถึงต้นแขน
4.เฝือกขา ( Short leg cast) ต าแหน่งใส่ตั้งแต่ปลายนิ้วเท้าถึงใต้เข่า
5.เฝือกขา ( Leg cylinder cast ) ต าแหน่ง ใส่ตั้งแต่ข้อเท้าถึงต้นขา
6.เฝือกขา ( long leg cast )ต าแหน่ง ใส่ตั้งแต่ปลายเท้าถึงต้นขา
เฝือกลำตัวและขา ( Unilateral hip spica cast ) ใส่ตั้งแต่ทรวงอก
ลงมาตลอดขาอีกหนึ่งข้าง เว้นต่ าแหน่งของขาหนีบ
เฝือกล าตัวและขา ( One and one half hip spica cast ) ต าแหน่ง ใส่ตั้งแต่ทรวงอกลงมาตลอดขาอีกหนึ่งข้าง
9.เฝือกล าตัวและขา ( Bilateral hip spica cast) ต าแหน่งใส่ตั้งแต่ทรวงอกลงมาตลอดขาทั้ง 2 ข้างโดยเว้นตำแหน่งงของขาหนีบไว้
10.เฝือกล าตัว ( Body cast ) ตำแหน่ง ด้านหน้าเริ่มตั้งแต่ sternal notch ถึงsymphysis pubis
11.เฝือกล าตัวและขา : ( Short leg hip spica cast)ต าแหน่ง ใส่ตั้งแต่ทรวงอกลงมาถึงหัวเข่าของขาทั้ง 22 ข้างโดยเว้นต าแหน่งของขาหนีบไว
การดูแลเฝือก
ในระยะ 3 วันแรก หลังใส่เฝือก ป้องกันเฝือกแตกหัก หรือ บุบ ในระหว่างที่เปียกชื้น
-ให้วางเฝือกบนวัสดุนิ่ม เช่น หมอน หลีกเลี่ยงการวางเฝือกบนวัสดุแข็ง เช่น พื้นปูน
-ห้ามนำเฝือกไปผิงไฟหรือ เปียกน้ำ
การปฏิบัติตัวเมื่อเฝือกแห้งดีแล้ว
1.ดูแลไม่ให้เฝือกเปียกน้ำหรือ สกปรก
2.ไม่ควรให้เฝือกเป็นตัวรับน้ าหนักเต็มที่
3 เกร็งกล้ามเนื้อที่อยู่ใต้เฝือกบ่อยๆและเคลื่อนไหวส่วนที่อยู่
ภายนอกเฝือก
4.ห้ามใช้วัสดุของแข็งแหย่เข้าไปในเฝือก
5.ยกส่วนแขนหรือขาที่เข้าเฝือกให้สูงอยู่เหนือระดับหัวใจเสมอ
ภาวะแทรกซ้อนของการใส่เฝือก
แผลกดทับ
ปัญหากระดกข้อเท้า หรือ เหยียดข้อเท้าไม่ได้ หรือ เท้าตก (Foot drop)
อาการบวม
4.คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืดและบางครั้งมีอาการปวดท้อง
6.การติดเชื้อ (Infection)
7.กล้ามเนื้อลีบและข้อติด
8.Compartment Syndrome
COMPARTMENT SYNDROMEคือ ภาวะที่ “ความดันในช่องปิดของ
กล้ามเนื้อสูงขึ้น” หลังได้รับบาดเจ็บซึ่งไปรบกวนระบบการไหลเวียนของ
เลือด ท าให้กล้ามเนื้อเยื่ออ่อนอื่นๆ ในบริเวณนั้น มีเลือดไปเลี้ยงไม่พอ (Poor tissue Perfusion) เกิดการขาดเลือดที่รุนแรง จนท าให้
เนื้อเยื่อในช่องกล้ามเนื้อนั้นตาย
การประเมินภาวะ Compartment Syndrome
-pain ปวด
-Polar เย็น
Pallor ซีด
-Paresthesia ชา
-Paralysis อัมพาต
-pulselessness ชีพจร
fasciotomy
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยการตัดแขนและตัดขา (Amputation)
ข้อบ่งชี้ในการทำผ่าตัด Amputation
1.การได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหติTRAUMA (severe tissue damage)traumatic amputation
2.การติดเชื้อ
3.เนื้องอกหรือมะเร็งกระดูก
4.ความพิการแต่ก าเนิด
เส้นประสาทได้รับอันตรายทำให้เป็นอัมพาตแขนขา
6.Vascular disease ทำให้เกิดเนื้อตายของอวัยวะ
ชนิดของการตัดแขนขา
Closed amputation
Open amputation
ระดับของการตัดแขนขา
ขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพที่จำเป็น เช่น
-การไหลเวียนเลือด
-เนื้อเยื่อและอวัยวะใกล้เคียง
-ความเหมาะสมของการเตรียมตอแขน
ขาเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการใส่แขนขาเทียมในภายหลัง
ระดับของการตัดแขน
การตัดนิ้วมือ : Ray amputation
การตัดระดับข้อมือ : Wrist disarticulation
การตัดระดับข้อศอก : Elbow disarticulation
การตัดต่ ากว่าข้อศอก : Below elbow amputation : B.E.
การตัดเหนือข้อศอก : Above elbow amputation : A.E.
การตัดระดับไหล่ : Shoulder disarticulation
ระดับของการตัดขา
1.การตัดระดับนิ้วเท้า :Toe disarticulation
การตัดระดับข้อเท้า :Syme’s amputation
การตัดใต้เข่า : B-K Below knee amputation
4.การตัดระดับเข่า :Knee disarticulation
5.การตัดเหนือเข่า : A-KAbove knee
amputation
การตัดผ่านขัอสะโพก :Hip disarticulation
ปัญหาทางการพยาบาล amputation
Phantom limb sensation
Peripheral theory ทฤษฎีเหตุประสาทส่วนปลาย การไม่พึงพอใจกับสิ่งที่เกิดขึ้น
2.Central theory ทฤษฎีเชื่อมโยงระบบประสาท ส่วนกลางของสมองและไขสันหลัง
การจดจ าของระบบประสาทก่อนการถูกตัด
3.Psychogenic Theory ทฤษฎีทางจิต ความรู้สึกที่พยายามต่อสู้กับความจริงที่จะ
รักษาภาพลักษณ์ จึงปฏิเสธการสูญเสีย
ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการตัดแขนขา
Reactionary hemorrhage
Secondary haemorrhage
Infection
Blood clot
Tissue necrosis
Flexion deformity or Contracture
Neuroma
Phantom pain and Phantom limb sensation
เทคนิคการพันผ้า
-กรณี : พันให้มีรูปร่างทรงกระบอก
(cylindrical) ใช้ผ้ายืดกว้าง 4 นิ้ว
กรณี : พันให้เป็น รูปโคน (conical) ใช้ผ้ายืดกว้าง 6 นิ้ว
การบริหารตอขา
การออกกำลังแขนและการกำมือเพื่อเตรียมกล้ามเนื้อ
สำหรับใช้เครื่องช่วยเดิน
การออกกำลังกายส าหรับผู้ป่วยที่ถูกตัดขาระดับเหนือเข่า
การออกกำลังกายสาการออกำลังกา
ยสำหรับผู้ป่วยที่ถูกตัดขาระดับใต้เข่า
การผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การผ่าตัดเชื่อมกระดูกและใส่โลหะยึดตรึงกระดูกสันหลัง (Spinal
Fusion with instrumentation)
การผ่าตัดหมอนรองกระดูกสันหลัง (Lumbar discectomy) เป็นการ
ผ่าตัดเพื่อลดการกดทับรากประสาท จากหมอนรองกระดูกสันหลังที่แตกออกมา เพื่อฟื้นฟูการท างานของรากประสาทกลับคืนสู่สภาพให้เร็วที่สุด
การผ่าตัดหมอนรองกระดูกคอทับเส้นประสาท โดยการผ่าตัดจากทางด้านหน้า และ เชือมข้อ ( Anterior Cervical Discectomy And
Fusion ; ACDF)
ข้อเคลื่อน
อาการข้อเคลื่อนที่พบได้บ่อย
บวม, ปวด, กดเจ็บบริเวณข้อ
ข้อมีรูปร่างผิดปกติไปจากเดิม
สีของบริเวณข้อที่ได้รับบาดเจ็บเปลี่ยนไปจากเดิม
การเคลื่อนไหวข้อท าไม่ได้ หรือทำได้น้อยมาก
ผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวข้อได้ตามปกติ
มีการหดสั้นของอวัยวะ เช่น แขน หรือขา
อาจคล าพบปลายหรือหัวกระดูกที่เคลื่อนออกมา
การที่ข้อเคลื่อน อาจมีอันตรายต่อเส้นประสาท
และหลอดเลือดใกล้เคียง
การพยาบาลเมื่อมีข้อเคลื่อน
อย่าพยายามดึงเข้าที่เอง เพราะอาจเกิดอันตรายถึงกระดูกหักได้ หรือ
บางรายอาจมีกระดูกหักชิ้นเล็กๆ
สิ่งแรกที่ควรท าคือ ให้ข้อนั้นอยู่นิ่งๆ ในท่าที่เป็นอยู่ อาจจะใช้มืออีกข้าง
ช่วยประคองในกรณีที่เป็นไหล่ หรือข้อศอก
ประคบด้วยน้ าแข็ง เพื่อให้เลือดออกน้อยที่สุด
รีบมาพบแพทย์ให้จัดการรักษาโดยทันที
แนวทางการจัดการสำหรับผู้ป่วย
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
ในระยะ 24 – 48 ชั่วโมงแรก โดยอาศัยหลัก “RICE”
-การพัก (Rest) งดการใช้งานส่วนของร่างกายที่ได้รับบาดเจ็บทันที โดยเฉพาะในช่วง 6
-การใช้ความเย็น (Ice) โดยการประคบเย็น
-การพันผ้ายืด (Compression bandage) เพื่อกดไม่ให้มีเลือดออกในเนื้อเยื่อมาก
-การยก (Elevation) ส่วนของร่างกายที่ได้รับการบาดเจ็บให้สูงกว่าระดับหัวใจ
ในระยะ 24 – 48 ชั่วโมงไปแล้ว โดยอาศัยหลัก “HEAT”
-ความร้อน (Hot application) การประคบน้ำอุ่น
-การบริหารบริเวณที่บาดเจ็บและบริเวณข้างเคียง (Exercise)
-เพิ่มการบริหารกล้ามเนื้อมากขึ้น (Advance exercise)
-การฝึกกล้ามเนื้อหรือฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ (Training)
ภาวะแทรกซ้อนกระดูกหักและข้อเคลื่อนไหว
1.ระบบประสาท
2.ระบบการไหลเวียนเลือด-ช็อก ( shock )
3.ระบบหายใจ
4.การติดเชื้อ ( Infection )
5.กระดูกติดเชื้อ ( Osteomyeliltis )
6.Gas gangrene
7.กระดูกติดผิดรูป ( Mal union )
8.กระดูกติดช้า และกระดูกไม่ติด ( delay Union and non-Union )
9.กระดูกเจริญเติบโตผิดรูป ( deformity with growth )
10.ข้อเสื่อม ( Post tramatic arthritis )
11.หัวกระดูกตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยง ( Osteonecrosis )
12.ข้อติด ( joint stiffness )
13.ภาวะเหล็กหัก ( Implant failure )
14.Reflex sympathetic Dystrophy
15.ภาวะกดทับจากเฝือก
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อ (joint replacement)
Hip arthroplasty
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแบบทั้งหมด (total hip replacement,
THR หรือ total hip arthroplasty, THA) เป็นการผ่าตัดเปลี่ยนทั้งส่วนหัว
ของกระดูกต้นขา (femur) และเบ้าสะโพก (acetabulum)
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมเพียง
บางส่วน (hemiarthroplasty of thehip)เอาเฉพาะส่วนหัวของกระดูก
ต้นขาออก
้ข้อบ่งชี้ Hip arthroplasty
โรคข้ออักเสบเรื้อรัง
ข้ออักเสบรูมาตอยด์
หัวกระดูกต้นขาตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยง
เกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนผิว ข้อที่อยู่ระหว่างกระดูกต้นขาและเบ้า
จากการใช้ งานมากในชีวิตประจำวัน
ผู้ป่วยข้อสะโพกหัก (Fracture)
อาการข้อสะโพกมีปัญหา
ปวดข้อสะโพกเมื่อมีการเคลื่อนไหว อาจเดินไม่ได้หรือเดินกะเผลก
กดเจ็บบริเวณข้อสะโพก
มีการลีบของกล้ามเนื้อรอบๆสะโพก และกล้ามเนื้อรอบๆโคนขา
บางรายขาจะสั้นจากการหดรั้งของกล้ามเนื้อ
ปวดมากแม้อยู่ในขณะพัก
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจพบในการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
ช่วงขณะท่าผ่าตัด (intraoperative complications)
-มีการแตกหักของกระดูกต้นขาหรือกระดูกเบ้า
การบาดเจ็บของหลอดเลือดและเส้นประสาท โดยเส้นประสาทที่มีโอกาสได้รับบาดเจ็บมากที่สุดในการผ่าตัดเข้าทางposterolateral คือเส้นประสาท sciatic
ช่วงภายหลังการผ่าตัด (postoperative complications)
2.1 การเคลื่อนหลุดของข้อสะโพกเทียม มักพบได้บ่อยในช่วง 3 เดือนแรกภายหลังผ่าตัด
2.2 การติดเชื้อของข้อสะโพกเทียมเป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
2.3 การเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดด่าที่ขา
2.4 การสึกหรอและหลวมของข้อสะโพกเทียม โดยเฉพาะ polyethylene
2.5 การหักของกระดูกบริเวณข้อสะโพกเทียม
NURSING CARE POST OPERATION DAY 1-2
-กระดกข้อเท้า (ankle pumps)
-กางสะโพก (abduction exercise)
การปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดข้อสะโพก
วันแรกหลังผ่าตัด
ให้หายใจเข้า-ออกลึกๆ ช้าๆ โดยหายใจ
เข้าลึกๆ ค้างไว้ 30 วินาที
วันที่ 1-2หลังผ่าตัด บริหารร่างกายกล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้อรอบสะโพกในช่วงแรก
วันที่ 3-7 หลังผ่าตัด บริหารร่างกายและกล้ามเนื้อรอบข้อสะโพกในท่ายืน
(standing exercise)
คำแนะน ากับผู้ป่วยว่าหลังผ่าตัด 6 สัปดาห์แรก
ดูแลจัดท่านอนให้ผู้ป่วยดังนี้
นอนราบหัวสูง 30 องศา ขาข้างที่ผ่าตัดกางออก(abduction) ประมาณ 15-30
คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
การขึ้นเตียงให้ใช้ขาข้างดีขึ้นก่อน แล้วตามด้วยขาข้างที่ท าผ่าตัด
การลงจากเตียงให้เคลื่อนตัวมาทางขา
ข้างดีให้ใกล้ขอบเตียงมากที่สุด
ข้อห้ามปฏิบัติ
ห้ามนั่งไขว่ห้าง
ห้ามนั่งเก้าอี้ที่มีระดับต่ ากว่าสะโพก
ห้ามก้มลงหยิบของบนพื้น ให้ใช้ตะขอหรืออุปกรณ์อื่นๆ ช่วยหยิบ
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
(knee arthroplasty)
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมแบบทั้งหมด
(total Knee replacement, TKRหรือtotal knee arthroplasty, TKA) เป็นการ
ผ่าตัดเปลี่ยนผิวที่คลุมกระดูกข้อเข่าทั้งหมด ทั้งกระดูก femur และ tibia อาจรวมถึงกระดูก
สะบ้า (patella) ด้วย
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อ (joint replacement) ต่อ
ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด knee arthroplasty
-การเกิดลิ่มในหลอดเลือด (Thrombosis) และภาวะลิ่มเลือดอุด
หลอดเลือด (thromboembolism)
-การติดเชื้อของแผลผ่าตัด
-กระดูกหักภายหลังจากใส่ข้อเข่าเทียม
-เส้นประสาทเพอร์โรเนียลได้รับบาดเจ็บ (peroneal nerve
injuries)
การพยาบาลหลังการผ่าตัด knee arthroplasty
เมื่อกลับมาจากห้องผ่าตัดในระยะแรกจะได้รับการพันข้อเข่าด้วยผ้าสำลีม้วนหนาการจัดท่า ให้ขาข้างที่ทำผ่าตัดได้พักในท่าเข่าเหยียด (extention
ในช่วง 48 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัดอาการบวมจะเกิดขึ้นได้ง่าย สังเกตอาการผิดปกติโดยการตรวจดูปลายเท้า ทุก
3-4 ชั่วโมง ดูสีผิว การเคลื่อนไหว อุณหภูมิ
วันที่ 3 หลังผ่าตัด ฝึกออกกำลังกล้ามเนื้อต้นขาโดยการยกขาที่ท าผ่าตัดให้สูงขึ้น
บวม Swelling : cold compression ต่อเนื่อง 2-3 wks
elevate ขาบนหมอนโดยยกเท้าให้สูงกว่าหัวใจ
Bruising (รอยฟกช้ า) พบได้บริเวณต้นขา น่อง ข้อเท้า จะ absorb
ได้เอง
การออกกำลังกายหลังการผ่าตัด
-Exercise/ROM
-Quadriceps Sets : เกร็ง
กล้ามเนื้อต้นขา 5-10 sec
Straight Leg Raises:
5-10 sec
Ankle pumps: 5-10 ครั้ง
Knee Straightening
Exercises
Knee Press:
Sitting Supported Knee
Bends
Sitting Unsupported Knee
Bends
การลุกขึ้นยืนการลุกขึ้นนั่ง
Ambulate training
เดินด้วย walker ประมาณ 4-6 wks
การเดินลงน้ำหนัก แบ่งเป็น5ประเภท
-Non weight bearing ไม่ลงน้ าหนักเลย
-Toe touch weight bearing ลงน้ าหนักไม่ เกิน 20% ของน้ าหนักตัว
-Partial weight bearing ลงน้ำหนัก 20-50% ของน้ำหนักตัว
-Weight bearing as tolerate ลงน้ าหนัก 50-100% ของน้ าหนักตัว
-Full weight bearing ลงน้ าหนักไม่เกิน 100% ของน้ าหนักตัว
โรคกระดูกที่เกิดจากการติดเชื้อ
infectious orthopedics diseases
ข้ออักเสบจากการติดเชื้อ (septic arthritis)
-เป็นการอักเสบติดเชื้อที่กระดูกใกล้ข้อคือ ข้อสะโพกข้อเข่า ข้อไหล่ ข้อศอกและข้อมือ
พยาธิสภาพ เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทาง
1.กระแสเลือด
2.มีการอักเสบติดเชื้อของกระดูกมาก่อน
3.เข้าสู่ข้อโดยตรง
-เชื้อที่เป็นสาเหตุStaphylococcus พบทุกช่วงอายุ
ลักษณะทางคลินิก
-มักเป็นข้อที่อยู่ตื้นๆเช่น ข้อเข่า ข้อมือ ข้อเท้า
การรักษาข้ออักเสบจากการติดเชื้อ
Supportive treatment พักข้อ ให้ยาบรรเทปวด
Splint , traction
Antibiotic
Drainage
ภาวะแทรกซ้อนของข้ออักเสบจากการติดเชื้อ
ทำลายกระดูกอ่อนผิวข้อ ข้อติดแข็ง
ข้อหลุด ( ข้อสะโพก)
ทำลาย epiphysis ท าให้ แขนขายาวไม่เท่ากัน
ทำให้เกิด Osteomyelitis ในกระดูกใกล้เคียง
โรคข้อเสื่อม (osteoarthritis-OA) เป็นโรคของข้อที่เกิดจากการเสื่อมของกระดูกอ่อนข้อต่อ
อาการ
ปวด อาการปวดในโรคข้อเข่าเสื่อมมักมีลักษณะปวดตื้อทั่วไปบริเวณข้อ
ข้อฝืดตึง (stiffness) พบได้บ่อยในช่วงเช้า
ข้อใหญ่ผิดรูป (bony enlargement) พบมีข้อบวมใหญ
มีเสียงดังกรอบแกรบ (crepitus) ในข้อเข่าขณะเคลื่อนไหว
ทุพพลภาพในการเคลื่อนไหวและการท างาน(reduced function)
ข้อเข่าเคลื่อนไหวได้จ ากัด (restricted movement)
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non pharmocologic therapy)
กายบริหารร่างกาย(Therapeutic exercise)
-เดิน การปั่นจักรยาน การออกก าลังในน้ า เพื่อป้องกัน แรงที่กระทำต่อข้อเข่ามากเกินไป
-การปรับพฤติกรรมปฏิบัติตัวเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดเข่าเสื่อม เช่น การยกของหนักในท่าที่ผิด การนั่งพับ
เพียบ
การรักษาด้วยยา - ยาแก้ปวด
การผ่าตัด (Surgical treatment)
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม
กระดูกอักเสบจากการติดเชื้อ
(osteomyelitis)
-เป็นการอักเสบติดเชื้อของกระดูกทุกชั้น ตั้งแต่ bone marrow,cortex จนถึงชั้น periosteum
1.กระดูกอักเสบติดเชื้อเฉียบพลัน (acute osteomyelitis)
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
staphylococcus aureus 90%
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวด บวม แดง ร้อน
การรักษา 1. การรักษาโดยทั่วไป 2. การใส่ splint หรือ traction 3. การให้ยาปฏิชีวนะ 4.การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อในกระแสโลหิต (Septicemia)
การติดเชื้อแพร่กระจาย (Disseminated infection)
3.ข้ออักเสบเป็นหนอง ( Supperative arthritis)
4.รบกวนการเติบโตของกระดูก ( Growth distubance)
5.กระดูกอักเสบเป็นหนองเรื้อรัง ( Chonic osteomyelitis)
2 กระดูกอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง (Chronic Osteomyelitis)
สาเหตุ
ภาวะต่อเนื่องจาการอักเสบเฉียบพลัน
เกิดตามหลังการติดเชื้อจากอุบัติเหตุ(open fracture)
เชื้อก่อโรค
Staph. aureus , E. coli, Strep pyogenes, Proteus,Pseudomonas
พยาธิสภาพ
Sequestrum , Involucrum , Cloaca
อาการทางคลินิก
มี sinus tract ที่มีหนองไหลเป็นๆหายๆ
อาจมีอาการปวด, ไข้
อาจมาด้วย Pathological fracture
การวินิจฉัย
กระดูกที่ตายแล้ว กลายเป็นชิ้นกระดูกที่ตายอยู่ในร่างกายเรียกว่า sequestrum
การสร้างกระดูกขึ้นใหม่จากเยื่อหุ้มกระดูกที่ลอกตัว เรียกว่า involucrum รอบกระดูกที่ตาย
การรักษา
การใช้ยาปฏิชีวนะ
-การผ่าตัด การท าผ่าตัดเอากระดูกที่เน่าตายออก (sequestrectomy)
วัณโรคกระดูกสันหลัง
ตำแหน่งที่พบบ่อย : Thoracolumbar
เชื้อวัณโรคเข้าสู่กระดูกสันหลังผ่านทาง
กระแสเลือด
อาการและอาการแสดง
-น้ำหนักลด ผอม เบื่ออาหาร
ปวดหลัง ร้าวไปรอบตัว (girdle pain)
ท่าเดินผิดปกติ ก้าวสั้น งอเข่า,สะโพก
พบ cold abscess บริเวณเอว สะโพกด้านหน้าและขาหนีบ
-X-Ray
ระยะแรก - Decalcification
ระยะที่สอง – Body destruction ,narrowing intervertebal
disc Kyphosis
ระยะสุดท้าย – Sequestrum ,loss vertebral body
Paravertebral abscess
-CT ,MRI
การรักษา
ให้ยาต้านเชื้อวัณโรค 2IRZE + 4IR
การผ่าตัด Debridement + Spinal fusion
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก
-ปวดเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บ การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก
-ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อที่แผลผ่าตัดเนื่องจาก
-ตกเลือด (bleeding)
-เสี่ยงต่อการเกิด compartment syndrome (CPS) เนื่องจากเนื้อเยื่อบริเวณได้รับบาดเจ็บ
-เสี่ยงต่อการเกิด pulmonary embolism (PE), deep vein thrombosis
(DVT) เนื่องจากมีการหักของกระดูกหักบริเวณ..
-เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ แผลกดทับ ปอดแฟบ ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
-ผู้ป่วยวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดเนื่องจากขาด