Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต - Coggle Diagram
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ความหลากหลายของสปีชีส์
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ตารางธรณีกาล
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
ซากดึกดำบรรพ์
กายวิภาคเปรียบเทียบ
วิทยาเอ็มบริโอเปรียบเทียบ
ชีวโมเลกุลระดับโมเลกุล
ชีวภูมิศาสตร์
ชื่อสิ่งมีชีวิต
ชื่อวิทยาศาสตร์ตามหลักทวินาม
ส่วนประกอบ
ส่วนแรก ชื่อสกุล
ส่วนที่สอง ชื่อระบุสปีชีส์
วิธีการเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
เขียนด้วยภาษาละติน
ชื่อสกุลต้องขึ้นต้นด้วยอักษรพิมพ์ใหญ่ ส่วนชื่อระบุสปีชีส์ใช้ตัวอักษรพิมพ์เล็ก
เขียนให้ต่างจากตัวอักษรอื่น ๆ โดยอาจใช้ตัวเอียงหรือขีดเส้นใต้
แยกระหว่างชื่อสกุลกับชื่อสปีชีส์
การระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต
การระบุและตรวจสอบชนิด (identification) ของสิ่งมีชีวิตนิยมใช้ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomous key)
โดยพิจารณาความแตกต่างของลักษณะทีละลักษณะเป็นคู่ ๆ
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตตามแนวคิดของโอปาริน
บรรยากาศของโลกในช่วงแรกประกอบด้วยแก๊สแอมโมเนีย 〖(NH〗_3) แก๊สไฮโดรเจน 〖(H〗_2) แก๊สมีเทน 〖(CH〗_4) และไอน้ำ (H_2 O)
อนุภาคต่าง ๆ รวมตัวกันเป็นโมเลกุลของน้ำตาล กรดอะมิโน กรดไขมัน
และกลีเซอรอล
เกิดโมเลกุลทบซ้อน
ปรากฏเซลล์แรกเริ่มของสิ่งมีชีวิต
การทดลองของสแตนลีย์ มิลเลอร์
ให้ความร้อนจนน้ำเดือดกลายเป็นไอ
ไอน้ำเคลื่อนที่ไปตามหลอดทดลอง
ส่วนที่เปรียบได้กับชั้นบรรยากาศ ประกอบไปด้วย CH_4 NH_3 H_2 H_2 O
จำลองการเกิดฟ้าแลบ และฟ้าผ่า โดยให้แก๊สทำปฏิกิริยาผ่านประจุไฟฟ้า
ควบแน่นไอน้ำที่ได้จากการทดลอง
นำน้ำไปตรวจสอบ พบว่ามีกรดอะมิโนเจือปนอยู่