Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาการสำคัญ หายใจเหนื่อย นอนราบไม่ได้ - Coggle Diagram
อาการสำคัญ
หายใจเหนื่อย นอนราบไม่ได้
CHF ภาวะหัวใจล้มเหลว
อาการ
เหนื่อยง่าย
เหนื่อย
นอนราบไม่ได้
หน้าบวม ขาบวม
การวินิจฉัย
ตรวจเลือด เพื่อดูค่าBNP NT-proBNP ถ้าหากพบค่าสูงขึ้นบ่งชี้ถึงภาวะHF
มีประวัติโรคหัวใจ
Echocardiography ดูการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้าย
CXR ดูสารน้ำในช่องอก
การรักษา
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ควบคุมปริมาณสารน้ำในร่างกาย
ดูแให้ได้รับยาที่ใช้รักษาภาวะหัวใจ้มเหลว
น้ำท่วมปอด (Pulmonary Edema)
อาการของน้ำท่วมปอดชนิดเรื้อรัง
หายใจไม่อิ่มขณะทำกิจกรรมต่าง ๆ
หายใจมีเสียงครืดคราดหรือมีเสียงหวีด
หายใจลำบากเมื่อต้องออกแรง หรือหายใจลำบากเมื่อนอนราบ
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
อ่อนเพลีย หรือมีอาการบวมที่ขาและเท้า
ตื่นนอนกลางดึกเพราะหายใจลำบาก
อาการของน้ำท่วมปอดชนิดเฉียบพลัน
หายใจไม่อิ่มอย่างรุนแรง หรือหายใจลำบากเมื่อนอนลง
หอบ หรือรู้สึกเหมือนจมน้ำ
หายใจมีเสียงหรือหายใจลำบาก
กระสับกระส่าย สับสน วิตกกังวล
ไอมีเสมหะเป็นฟองสีชมพู
เจ็บหน้าอกหากมีสาเหตุมาจากโรคหัวใจ
ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว
การวินิจฉัย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
จำเป็นต้องซักถามเพื่อหาสาเหตุ ที่ทำให้เกิดปอดบวมน้ำสังเกตอาการอาการแสดง และสิ่งที่ตรวจพบ ที่บ่งชี้ถึงภาวะปอดบวมน้ำ ซึ่งพยาบาลจะต้องแปลความหมายและให้การช่วยเหลือได้อย่างรวดเร็ว
ภาพรังสีทรวงอก
2.1แสดงลักษณะปอดบวมน้ำ เช่น เห็นหลอดเลือดดำในปอด ชัดเจนในบริเวณปอดส่วนบน เป็นรูปคล้ายเขากวาง (antler 's sign )
2.2อาจเห็นเงาหัวใจใหญ่กว่าเดิม
3.การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง
4.การตรวจระดับออกซิเจนในเลือด
5.การเอกซเรย์ปอด
อาการภาวะปอดบวมน้ำจากการอยู่ในพื้นที่สูง
ปวดศีรษะ
มีไข้ ไอ ไอมีเสมหะหรืออาจมีเลือดปน
หายใจไม่อิ่มหลังจากออกแรง ซึ่งจะเกิดอาการเมื่อหยุดพัก
เดินขึ้นเนินหรือที่สูงได้ยากลำบาก
ใจสั่น หรือหัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ
เจ็บหน้าอก
ภาวะหัวใจขาดเลือด
อาการ
เจ็บแน่นหน้าอกโดยเฉพาะออกแรง
เมื่อพักแล้วยังมีอการแน่นๆอึดอัด
เจ็บหน้าอกลึกๆหายใจไม่สะดวก ใจสั่น หน้ามืด
จุกเสียดบริเวณลิ้นปี่ แขนซ้าย หรือคอ
หน้าซีดเหงื่อออก เวียนศีรษธหน้ามืด
การวินิจฉัย
EKG
เพื่อดูลักษณะการเปลี่ยนแปลงของ EKG ที่บ่งถึงภาวะหัวใจขาดเลือด ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งของกล้ามเนื้อหัวใจ
การตรวจเลือด สามารถวินิจฉัยโรคหัวใจขาดเลือดได้ เพราะเมื่อเกิดภาวะหัวใจขาดเลือด จะมีโปรตีนสิ่งแปลกปลอมจากเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่ตายรั่วออกมารั่วไหลลงไปกระแสเลือดมากกว่าปกติ ยิ่งเจือปนในเลือดมากเท่าใดยิ่งบ่งบอกถึงโรคหัวใจขาดเลือดได้
การตรวจคาร์ดิแอค โทรโปนิน(cardiac troponin)ตรวจหาโปรตีนในเซลล์ที่ช่วยระบุกล้ามเนื้อหัวใจตายได้
การตรวจครีเอตินไคเนส-เอ็มบี (CK-MB)ตรวจหาเอนไซม์ในเลือดจะรั่วไหลลงมา
การตรวจหัวใจด้วยเครื่องคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiogram)
ปัจจัยเสี่ยง
เพศชายเกิดได้มากกว่าเพศหญิง 3-5เท่า
สูบบุหรี่
ไขมันในเลือดสูง
มีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูง เบาหวาน
มีรูปร่างอ้วน ไม่ค่อยออกกำลังกาย
มีภาวะเครียด
มีประวัติโรคหัวใจของคนในครอบครัว