Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาติพันธุ์ “ส่วย” - Coggle Diagram
ชาติพันธุ์ “ส่วย”
-
การสร้างบ้าน การปลูกบ้าน
บ้านของชนเผ่าลักษณะทรงใต้ถุนสูง บ้านชาวกูยที่เลี้ยงช้างจะยกส่วนด้านหน้าให้สูงกว่าส่วนอื่น เพื่อที่ช้างจะลอดหรือยืนอยู่ได้ บ้านในภาษาส่วยเรียกว่า ดุง
-
บ้านจะหันหน้าเรือนไปทางทิศตะวันออกและจะทอดบันไดไป
ทางทิศตะวันออกเพราะเชื่อว่าจะนำไปสู่ความสว่างหรือความเจริญรุ่งเรื่อง
นิยมปลูกยุ้งข้าว ไม่นิยมหันไปทางทิศเหนือหรือทิศตะวันตก เพราะเชื่อทิศทั้งสองนี้เป็นที่อยู่ของช้าง จะทำให้ช้างมากินข้าวในยัง
ตงจะมีลักษณะที่แปลกกว่าของชนกลุ่มอื่นคือมีรูปหน้าตัดเป็นสามเหลี่ยมใช้ฐานวางบนรอดส่วนยอดรับพื้นที่ตงเป็นสามเหลี่ยมเพื่อไม่ให้ตัวเลือดมาอาศัยอยู่ได้
ประวัติความเป็นมา
กลุ่มชาติพันธุ์ที่คนไทยหลายคนเรียกว่า ส่วย นั้น ก็คือ ชนชาติพันธุ์ กูย , กวย คำว่า กุย กูย โกย กวย แปลว่า คน
คำว่า "ส่วย" ไม่ใช่ชื่อเรียกของชนชาติพันธุ์ แต่เป็นคำเรียกของฝ่ายปกครองที่ใช้มาตั้งแต่สมัยปลายกรุงศรีอยุธยาและต้นกรุงรัตนโกสินทร์
พุทธศตวรรษที่ 20 เคยส่งทูตมาค้าขายกับอยุธยา เคยช่วยกษัตริย์เขมรปราบกบฏ ต่อมาเขมรได้ใช้ทางการทหารรบกับชาวกูยและผนวกรวมดินแดนเป็นส่วนหนึ่งกับเขมร
-
อาหารพื้นเมือง
-
อาหารคาว
สลออังกัน (แกงขี้เหล็ก) สลอ แปลว่า “แกง” อังกัน คือ ผักขี้เหล็ก เป็นอาหารพื้นเมืองของชาวสุรินทร์ ทั้งชาวเขมร ส่วยและลาว
-
-
-
การปกครอง
-
-
วิถีชีวิตแรงงานอพยพตัดอ้อยกลุ่มชาติพันธุ์กูย
ระบบการผลิตทางเศรษฐกิจในระดับครอบครัว การเป็น แรงงานอพยพรับจ้างตัดอ้อยเกือบทั้งหมู่บ้าน
ความเชื่อ
กลุ่มชาติพันธุ์มีความเชื่อผสมผสานระหว่างศาสนาพุทธกับการนับถือผี (animism) กลุ่มชาติพันธุ์บูชาผีบรรพบุรุษที่เรียกว่า “ยะจูฮ”
-
พิธีกรรมไหว้ครูและความเชื่อในการเลี้ยงช้างเป็นการจับช้างโดยหมอช้าง ใช้บ่วงมาศที่เรียกว่า “เชือกปะกำ" ทำจากหนังควายถือเป็นของศักดิ์สิทธิ์เป็นที่สิงสถิตของดวงวิญญาณบรรพบุรุษ
-
-
-
-
ดนตรีและศิลปะการแสดง
-
การเต้นรำร้อง
การเซิ้งบั้งไฟ