Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.3 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช…
5.3 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช โรคบุคลิกภาพผิดปกติที่พบบ่อย
กลุ่ม B มีการแสดงออกทางอารมณ์ผิดปกติ หรือคาดเดาไม่ได้(dramatic, emotional, or erratic)
บุคลิกภาพผิดปกติแบบต่อต้านสังคม
ก้ํากึ่ง
หลงตัว (antisocial, borderline, histrionic,
and narcissistic personality disorders)
กลุ่ม c มีความหวาดกลัวหรือวิตกกังวลอย่างสูง (anxious or fearful)
หลีกเลี่ยง
พึ่งพา
และย้ําคิดย้ําทํา (avoidant, dependent and obsessive-compulsive personality disorders)
อาการและอาการแสดง
แบบต่อต้านสังคม
ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือมาตรฐานของสังคม
หลอกลวง ซึ่งเห็นได้จากการพูดโกหกช้ําแล้วซ้ําอีก
หุนหันวู่วาม ไม่คิดไตร่ตรองให้ดีก่อนที่จะทําอะไรลงไป
หงุดหงิดและก้วร้าว มีเรื่องต่อสู้ใช้กําลัง หรือทําร้ายผู้อื่นบ่อยๆ
ไม่ใส่ใจถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
ขาดความรับผิดชอบอยู่เป็นประจํา ทํางานอยู่ไม่ได้นาน ไม่ชื่อสัตย์ทางการเงิน
ไม่รู้สึกสํานึกผิดหรือเสียใจต่อความผิดที่ได้กระทําลงไป มีท่าที่เฉยๆ
แบบต่อก้ํากึ่ง
พยายามอที่จะหนีความเป็นจริงหรือหนีจากการถูกทอดทิ้ง
มีสัมพันภาพที่ไม่แน่นอนระหว่างดีสุดๆ และชั่วร้ายสุดๆ
สับสนในความเป็นตัวของตัวเอง
สําส่อนทางเพศ ใช้สารสพติต ขับรถประมาท ดื่มจัด
พยายามที่จะทําร้ายตนเองหรือฆ่าตัวตายบ่อยๆ
มีอารมณ์ไม่สม่ําเสมอ ไม่คงที่เปลี่ยนแปลงง่าย
มีความรู้สึกเหงาหว้าเหว่เรื้อรัง
ควบคุมอารมณ์โกรธไม่ได้
เมื่อมีความเครียด
แบบพึ่งพา
ไม่กล้าที่จะตัดสินใจด้วยตนเอง ต้องอาศัยคําแนะนํา และการให้กําลังใจจากผู้อื่น
ต้องการให้คนอื่นเข้ามารับผิดชอบเรื่องสําคัญๆ ในชีวิตให้ตน
รู้สึกยากที่จะแสดงความคิดเห็นคัดค้าน หรือไม่เห็นด้วยกับคนอื่น เพราะกลัวเขาจะไม่ยอมรับ
ไม่สามารถที่จะคิดริเริ่มกิจกรรมหรือโครงการใหม่ๆ
ทําทุกอย่างที่จะให้ได้รับการช่วยเหลือเกื้อหนุนจากผู้อื่น
รู้สึกไม่สบายใจหรือหมดหนทางช่วยเหลือ เมื่อต้องอยู่คนเดียว
ครุ่นคิดแต่ในเรื่องที่จะถูกทอดทิ้งให้ต้องดูแลตนเอง
สาเหตุ
1) ปัจจัยด้านชีวภาพ
พันธุกรรม (genetic)
ประสาทชีววิทยา (neurobiology)การเจ็บป้วยด้วยโรคทางสมอง
2) ปัจจัยทางจิตวิทยา
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory)
1) มีการติดขัดในขั้นของพัฒนาการ
2) โครงสร้างทางจิต (psychic structure; id, ego, superego) บกพร่อง
ทฤษฎีการเรียนรู้ (leaning theory)
ทฤษฎีทางจิตสังคม (psychosocial theory)
3) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
ความส้มพันธ์พ่อแม่ลูกไม่ดี
การที่พ่อแม่เคร่งครัดไม่ผ่อนปรนและขาดเหตุผลต่อเด็ก
การที่พ่อแม่หรือบุคคลที่มีอํานาจในครอบครัวมีบุคลิกภาพผิดปกติ
ความยากจนและการขาดที่พึ่ง
การบำบัด
การบําบัดทางจิตสังคม
จิตบําบัด (psychotherapy)
จิตบําบัตรายบุคคล (individual therapy)
จิตบําบัดแบบกลุ่ม (group therapy)
การรักษาด้วยยา
การให้ยาคลายกังวล
การให้ยาลดอารมณ์เศร้า
การพยาบาล
การประเมินสภาพ (assessment)
พันธภาพทางสังคม ที่ทํางาน เพื่อน ความแน่นแฟ้นของสัมพันธภาพ และความยากง่ายในการคบเพื่อน
ลักษณะเฉพาะ (character) อุปนิสัย
อารมณ์ทั่วไป (habitual mood) ความคงทนของอารมณ์
การเลี้ยงดูในวัยด็ก ประวัติการใช้ความรุนแรงในครอบครัว และเหตุการณ์วิกฤตในชีวิต
การจัดการแก้ไขปัญหาและการใช้กลไกป้องกันตนเองทางจิต
ความเชื่อ ศาสนา
การใช้เวลาว่าง (use of leisure)
การกระทําเป็นนิสัย (habits) ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และการใช้สารเสพติด
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการทําร้ายตนเอง/ฆ่าตัวตายเนื่องจากรู้สึกไม่มีคุณค่า/สูญเสีย/ล้มเหลว/มีภาวะซึมเศร้า
เสี่ยงต่อการทําร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุนแรงเนื่องจากขาดความยับยั้งชั่งใจ/ความอดทนต่อความคับข้องใจต่ํา
การเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากขาดทักษะในการแก้ไขปัญหา
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่องเนื่องจากมีพฤติกรรมไม่เป็นที่ยอมรับของสังคมมีพฤติกรรมบงการผู้อื่น
สูญเสียพลังอํานาจเนื่องจากความต้องการของตนเองไม่ได้รับการตอบสนอง/รับรู้ความมีคุณค่าในตนเองต่ํา
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการอยู่ตามลําพัง/ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ที่ตนเองเผชิญอยู่ได้
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่องมีพฤติกรรมแยกตัวเนื่องจากกลัวการถูกปฏิเสธ/กลัวถูกวิพากษ์วิจารณ์
ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้เนื่องจากการรับรู้คุณค่าในตนเองต่ํา
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับบุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดปกติด้วยความชัดเจน
ให้บุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดปกติได้พูตระบายความรู้สึก
ให้ความช่วยหลือและเฝ้าระวังพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
จัดสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัย
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ฝึกทักษะการจัดการและควบคุมพฤติกรรม
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกลุ่มทํากิจกรรมการสร้างสรรค์กับผู้อื่น
ส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
สอนการปรับเปลี่ยนวิธีคิดที่มีผลต่อความวิตกกังวล การคิดเชิงบวก
สอนและให้บุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดปกติฝึกทักษะที่จําเป็นต่าง ๆ
ให้การเสริมแรงทางบวก
ให้ความรู้เรื่องครอบครัวเกี่ยวกับโรค การบําบัดรักษา และการดูแล
กลุ่ม A มีพฤติกรรมประหลาด พิสดาร (odd or eccentricity)
หวาดระแวง
เก็บตัว
และจิตเภท (paranoid, schizoid andpersonality disorders)