Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ ระบบทางเดินปัสสาวะ…
บทที่ 13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ
ระบบทางเดินปัสสาวะ ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
ไตบาดเจ็บเฉียบพลัน (acute renal failure : ARF) หรือ
ไตบาดเจ็บเฉียบพลัน (acute kidney injury : AKI)
เกณฑ์การวินิจฉัย
เกณฑ์ด้านอัตราการกรองของเสียของไต (GFR criteria)
เกณฑ์ Acute Kidney Injury Network (AKIN)
ค่าปกติ BUN Cr
• BUN คือ 7 - 20 mg/dL
• Creatinine คือ
ผู้ชาย 0.70- 1.20mg/dL
ผู้หญิง 0.50 - 0.90 mg/dL
สาเหตุของไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
Prerenal acute renal failure
ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงไตหรือการก าซาบของเนื้อเยื่อไต (renal perfusion) ลดลง
ความดันต่ำ (hypotension)
ปริมาณสารน้ำในร่างกายน้อยกว่าปกติ (hypovolemia)
ภาวะหัวใจวายเลือดคั่ง (congestive heart failure)
และโรคตับแข็ง (cirrhosis)
สารพิษและยาที่มีผลต่อไต (nephrotoxins)
Post renal acute renal failure
Intrinsic acute failure
พยาธิสภาพไตบาดเจ็บเฉียบพลัน (acute renal failure)
ระยะเริ่มแรก (initial phase) ร่างกายได้รับภยันตรายหรือสัมผัสกับสารพิษที่มีผลต่อไต
ระยะที่มีการทำลายของเนื้อไต (maintainance) ไตเสียหน้าที่ในการขับของเสียและรักษาสมดุลน้ า อิเลคโตรลัยท์ ความ
เป็นกรด – ด่าง
ระยะที่มีปัสสาวะออกมาก (Diuretic
phase)
ระยะที่ไตเริ่มฟื้นตัว (recovery phase)
การป้องกันภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
การประเมินหาปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วย
การให้สารน้ำ เพื่อแก้ไขภาวะ pre-renal
การใช้ยาป้องกัน โดยใช้ยากลุ่มที่ใช้เพื่อเพิ่ม RBF
การรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
จากสาเหตุที่ไต
การรักษาแบบประคับประคอง (Conservative
treatment)
สารน้ำและสารอิเลคโตรลัยท์ (Fluid and Elyte)
ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต 50 มิลลิลิตร เข้าทางหลอด
เลือดดำอย่างช้า ๆ
ให้กลูโคส 30 กรัมเข้าทางหลอดเลือดด า แล้ว
ตามด้วยเรกูล่าอินสุลิน
เคเอกซาเลท( Kayexalate) ให้ครั้งละ 25 –
30 กรัม
ภาวะความเป็นกรด (Metabolic acidosis)
อาหาร (Diet)
ต้องจำกัดอาหาร
พวกโปรตีน
ผู้ป่วยระยะนี้ควรได้รับพลังงานจากอาหาร วันละ 25–30 แคลอรี่ต่อน้ าหนัก1 กิโลกรัม
จำกัดหรือหลีกเลี่ยงอาหารที่มี โปแตสเซียมสูง (K)
ไตเรื้อรัง
(chronic kidney disease)
ผลการตรวจเลือดพบ ครีเอตินิน (creatinin) มากกว่า
3 มก./ดล. เป็นเวลานานกว่า 3 เดือน
ขั้นตอนของไตเรื้อรังแบ่งออกเป็น 4 ระยะ
การทำงานของไตลดลง (Early stage or
diminished renal reserve)
2.ไตเสื่อมสมรรถภาพ (renal insufficiency)
ไตวาย (renal failure)
ไตวายระยะสุดท้ายหรือยูรีเมีย (uremia)
อาการและอาการแสดง
•อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายกว่าปกติ
•อาการอื่นที่อาจพบร่วม คือ ซึม ลง มึนงง
•นอนไม่หลับหรือหลับแล้วฝันร้ายบ่อยๆ
โรคไตระยะสุดท้าย
End State Renal Disease (ESRD )
โรคไตวายเรื้อรังอย่างถาวร ที่มีการสูญ เสีย
หน้าที่การท างานของไตลดลงมากที่สุด GFR < 15 มล./นาที/1.73 ตร.เมตร
ผลกระทบของภาวะไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบประสาท ระบบประสาทส่วนกลาง
ระบบประสาทส่วนปลาย
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบเลือดและอวัยวะรับเลือด
หลักการการรักษา
ประเมินและรักษาโรคหรือภาวะอย่างอื่นที่พบร่วมด้วย
ชะลอการเสื่อมของไต
ป้องกันและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด
ป้องกันและรักษาผลแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานของไตลด
อาหาร (diet intervention)
ให้สารอาหารทดแทน และพลังงานที่เพียงพอแก่ร่างกาย
งดไข่แดง นม หลีกเลี่ยงโปรตีนที่มาจากพีช
การจำกัดน้ า (fluid restriction)
ยา (Medication therapy)
การบำบัดทดแทนไต
(renal replacement therapy; RRT)
1.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (hemodialysis)
2.การล้างไตทางหน้าท้อง (peritoneal dialysis)
3.การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (kidney transplantation)
การขจัดของเสียออกทางเยื่อบุช่องท้อง
CAPD
C = Continuous น้ำยาล้างไตจะอยู่ในช่องท้องตลอดเวลา
A = Ambulatory ระหว่างการเปลี่ยนน้ำยาผู้ป่วยสามารถ
เคลื่อนไหว อย่างอิสระ และสามารถท ากิจวัตรประจ าวันต่างๆได้
P = Peritoneal ใช้ผนังเยื่อบุช่องท้องเป็นตัวกรองของเสีย
D = Dialysis การล้างไตเกิดขึ้นโดยการดึงของเสียและน้ำ
ภาวะแทรกซ้อนจากการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
ภาวะติดเชื้อ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ อาการที่พบ คือ น้ำยาที่ไหลออกมา ขุ่น มีไข้ หรือปวดท้อง
ภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายล้างไตทางช่องท้อง (mechanicalcomplication) ปวดท้องช่วงที่ปล่อยน้ำยาเข้าแรงดันในช่องท้องสูง
ท่อล้างไต (Catheter) หรือ
สายเท้งคอลฟ (Tenckhoff Catheter)
เป็นท่อซิลิโคน เส้นผ่านศูนย์กลางใกล้เคียงกับขนาดของแท่งดินสอ
ใช้เป็นช่องทางสำหรับการผ่านเข้า - ออกของน้้ำยาพีดี
การฝังท่อล้างไต
การฝังท่อโดยไม่ต้องผ่าตัดเปิดผนังช่องท้อง
การฝังท่อโดยการผ่าตัด (Surgical)
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis)
• มีระดับ Cr > 12 mg/dl
• BUN >100 mg/dl
• ภาวะน้ าเกินน้ำท่วมปอดไม่ตอบสนองต่อ diuretic drug
• ภาวะเลือดออกผิดปกติจาก ภาวะยูรีเมียทำให้การทำงานของ
เกร็ดเลือดบกพร่อง
• มีอาการคลื่นไส้อาเจียนตลอดเวลา
ทวารหลอดเลือดชนิดถาวร
(permanent vascular access)
Arteriovenous fistula, AV fistula, AVF
2.การผ่าตัดต่อเส้นเลือดเทียม (arteriovenous graft, AVG)
ระวังไม่ให้แผลเปียกน้้ำยกแขนสูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อลดอาการบวม
สังเกตอาการผิดปกติหลังการผ่าตัด ได้แก่ ติดเชื้อ ตีบตัน
ภาวะแทรกซ้อนที่พบขณะฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในหอผู้ป่วยวิกฤต
Disequilibrium syndrome การฟอกเลือดท าให้ uria nitrogen ในเลือดของผู้ป่วยลดลงอย่างรวดเร็ว
Hypotension มีอาการและอาการแสดงดังนี้ เวียนศีรษะ
Hypoxemia
Bleeding
Electrolyte disturbance
and cardiac arrhythmias
การบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง
(continuous renal replacement therapy: CRRT)
คือ การบำบัดทดแทนไตที่ท าต่อเนื่อง 24ชั่วโมง เป็นเวลาหลายวันในหอ
ผู้ป่วยวิกฤต
ใช้หลักการ การแลกเปลี่ยนสารให้เกิดขึ้น
อย่างช้าๆ
ประโยชน์ของการทำ CRRT
มีการขจัดน้ำและของเสียออกจากผู้ป่วยอย่างช้าๆและต่อเนื่อง
การทำ CRRT ขจัดของเสียได้ช้ากว่า intermittent hemodialysis
ระยะก่อนการรักษา
การเตรียมพร้อมด้านจิตใจ
การเตรียมพร้อมด้านร่างกาย
การเตรียมอุปกรณ์เพื่อการรักษา
ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยจากการทำ CRRT
Bleeding อาจเกิดจากได้ heparin มากเกินไป
Thrombosis และ Thromboembosis ภาวะแทรกซ้อนในวงจร
เส้นเลือดอุดตันภายในหลอดเลือดแดงใหญ่
Disconnection วงจรของระบบอาจหลุดได้
Air embolism
ภาวะติดเชื้อ
การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (Renal transplantation)
การพยาบาลหลังผ่าตัด ผู้ป่วยควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากพยาบาลเพื่อสังเกตการท างานของไตใหม่
สังเกตอาการและอาการเปลี่ยนแปลง วัดสัญญาณชีพ
ดูแลการได้รับสารน้ าและอิเลคโตรลัยส์
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวมีกิจกรรมในระยะแรกหลังผ่าตัด
ดูแลการให้ยากดระบบภูมิคุ้มกัน
ดูแลการรับประทานอาหารของผู้ป่วย
AKI on top CKD
หมายถึง ไตเสื่อมเฉียบพลัน ในคนที่มีไตวาย
เรื้อรังระยะต้นอยู่แล้ว
Benign prostatic hypertrophy: BPH
สาเหตุ ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดว่าอะไรเป็นต้นเหตุ เพียงแต่เข้าใจว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับความไม่สมดุลระหว่างฮอร์โมนแอนโดรเจน กับเอสโตรเจนในผู้สูงอาย
อาการและอาการแสดง
• ผู้ป่วยจะปัสสาวะบ่อย
• จะมีอาการถ่ายปัสสาวะขัด
• สายปัสสาวะอ่อนลง ปัสสาวะไม่พุ่ง
• การติดเชื้อจะเกิดร่วมด้วยเสมอ
การตรวจวินิจฉัย
1.การตรวจทางทวารหนัก
2.การตรวจด้วยเครื่องมือส่องดูภายใน ได้แก่ panendoscope
การตรวจทางรังส
ตรวจเลือดหาค่า BUN, Cr
การรักษา
ควรงดดื่มของเหลวหรือแอลกอฮอล์
แพทย์อาจะสั่งยาบางชนิดให้
รักษาด้วยความร้อน
รักษาด้วยการผ่าตัดด้วยการส่องกล้อง เพื่อตัดเอาชิ้นเนื้อส่วนที่
เกินออกมาจากต่อมลูกหมาก (TURP)
กรณีที่ต่อมลูกหมากมีขนาดใหญ่มากผิดปกติ
มะเร็งต่อมลุกหมาก
prostate cancer
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ได้แก่
อายุ มะเร็งต่อมลูกหมากพบในผู้ป่วยอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป อายุโดยเฉลี่ยประมาณ 70 ปี
ประวัติครอบครัว พบว่าชายที่มีพ่อหรือพี่น้องเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากจะมีโอกาสเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากสูงกว่าคนทั่วไป
เชื้อชาติ พบไม่บ่อยในชาวเอเชียแต่พบบ่อยในอเมริกา
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก
อาหาร พบว่าผู้ที่บริโภคมันจากสัตว์มากมีโอกาสเป็น
มะเร็งต่อมลูกหมาก
บุหรี่ ผู้ที่สูบบุหรี่ก็มีโอกาสเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก
อาการของมะเร็งต่อมลูกหมาก
• ปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะเวลากลางคืน
• เวลาเริ่มปัสสาวะจะล าบาก ปัสสาวะไม่พุ่ง
อ่อนเพลีย ผอมลง น้ำหนักลด
การรักษา
radical retropubic prostatectomy
radical perineal prostatectomy
transurethral resection of the prostate (TURP)
Radiation therapy
Hormonal therapy
Chemotherapy
cryotherapy
กิจกรรมการพยาบาลที่ต้องกระทำ
เพิ่มเติมความรู้ในเรื่องการเตรียมตัวก่อนและหลังผ่าตัด
แนะนำผู้ป่วยเมื่อต้องเผชิญกับความปวดจากผลการรักษาด้วยวิธีต่างๆ
สอนให้ผู้ป่วยให้สังเกตภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
ส่งเสริมความรู้ในเรื่องผลกระทบของการรักษาด้วยวิธีการต่างๆ
อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวทราบเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงของระบบ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก