Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 6
สถิติที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา
ระดับการวัด
4 ระดับ
นามบัญญัติ
เรียงอันดับ
อันตรภาค
อัตราส่วน
คุณสมบัติ 4 ประการ
ความแตกต่าง
ขนาดตามลำดับ
ความเท่ากันของช่วง
ศูนย์สัมบูรณ์
สถิติพื้นฐาน
การแจกแจงความถี่
หาพิสัยของคะแนน
ประมาณขนาดของตารางแจกแจงความถี่ 6 – 8 ชั้น
คำนวณหาช่วงข้อมูลในแต่ละชั้นของตาราง
สร้างตารางแจกแจงความถี่
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ค่าเฉลี่ย
ค่ามัธยฐาน
ค่าฐานนิยม
การวัดการกระจาย
ค่าพิสัย
ความแปรปรวน
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย
การวัดความสัมพันธ์
การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
ศึกษาข้อมูล 2 ชุด
แบบ Peason Preduct Moment
คะแนนและการตีความหมายของคะแนน
คะแนนแปลงรูปเชิงเส้นตรง
คะแนนซี (Z - score)
เปรียบความสามารถในการเรียนวิชาต่างๆ ได้
ข้อจำกัด
เป็นทศนิยม
มีค่าเป็นลบ
คะแนนที (T- score)
คะแนนมาตรฐาน
มีค่าเฉลี่ย 50
คะแนนแปลงรูปเชิงพื้นที่ใต้โค้ง
ตำแหน่งเปอร์เซนไตล์
จัดเรียงคะแนนจากมากไปหาน้อย
จัดคะแนนลงในตารางแจกแจงความถี่โดยไม่จัดหมวดหมู่
หาความถี่สะสม
เปลี่ยนค่าความถี่สะสมให้เป็นตำแหน่งเปอร์เซนไตล์
คะแนนมาตรฐานทีปกติ
ใช้พื้นที่ใต้โค้ง
แปลงคะแนนดิบให้เป็นตำแหน่งเปอร์เซนไตล์
เปรียบเทียบค่า t – ปกติ
การตัดสินระดับผลการเรียน
การตัดสินผลการเรียนแบบอิงเกณฑ์
กำหนดเกณฑ์ไว้ล่วงหน้า
2 ระดับ
3 ระดับ
5 ระดับ
การตัดสินผลการเรียนแบบอิงกลุ่ม
การพิจารณากลุ่มของคะแนน t – ปกติ
กำหนดระดับผลการเรียน
หาช่วงคะแนน t – ปกติ
กำหนดช่วงคะแนน t – ปกติ
การวิเคราะห์ข้อสอบ
การวิเคราะห์ข้อสอบก่อนการทดลองใช้
แน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดตามวัตถุประสงค์นั้นให้คะแนน +1
ไม่แน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดตามวัตถุประสงค์นั้นให้คะแนน 0
แน่ใจว่าข้อสอบนั้นไม่วัดตามวัตถุประสงค์นั้นให้คะแนน -1
มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป
การวิเคราะห์ข้อสอบหลังการทดลองใช้
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม
กระดาษคำตอบของผู้สอบ
กลุ่มสูง (H)
กลุ่มต่ำ (L)
การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ
การวิเคราะห์ข้อสอบรายฉบับ
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงเกณฑ์
การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ
การวิเคราะห์ข้อสอบรายฉบับ