Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ ระบบทางเดินปัสสาวะ…
บทที่ 13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ
ระบบทางเดินปัสสาวะ ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
ไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
(acute renal failure : ARF) (acute kidney injury : AKI)
หมายถึง ภาวะที่ไตมี การสูญเสียการท างานอย่างรวดเร็วในเวลาเป็นชั่วโมงหรือในเวลาไม่กี่วัน ท าให้ไตไม่สามารถขจัดของเสียออกไปได้เป็นผลให้มี
ของเสียเพิ่มขึ้น เกิดความ ไม่สมดุล ของสารน้ า อิเล็กโทรลัยต์และภาวะกรด-ด่างในร่างกาย ท าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
เกณฑ์การวินิจฉัย
เกณฑ์ด้านอัตราการกรองของเสียของไต (GFR criteria)
เกณฑ์ Acute Kidney Injury Network (AKIN)
ค่าปกติ BUN Cr
BUN คือ 7 - 20 mg/dL
Creatinine คือ
-ผู้ชาย 0.70- 1.20mg/dL
-ผู้หญิง 0.50 - 0.90 mg/dL
สาเหตุของไต
บาดเจ็บเฉียบพลัน
Prerenal acute renal failure ความผิดปกติของการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต เกิดจาก
ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงไตหรือการก าซาบของเนื้อเยื่อไต
(renal perfusion) ลดลง
ความดันต่ำ (hypotension)
ปริมาณสารน้ำในร่างกายน้อยกว่าปกติ (hypovolemia)
ถ้าปล่อยทิ้งไว้ จะทำให้เซลล์และหลอดฝอยของไตตายเกิดภาวะ acute tubularnecrosis (ATN)
hypovolemia
BP drop RBF
norepinephrine, angiotensin antidiuretie hormone
หลอดเลือดหดตัว (vasoconstriction)
antidiuretic hormone (ADH)
ทำให้ไตเก็บกักน้ำและเกลือไว้ปสสาวะผู้ป่วยจึงเข้มข้น
ไตพยายามปรับสมดุลของตัวเอง (autoregulation) ให้เผชิญกับ
สภาวะการกำซาบเนื้อเยื่อไตลดลง (hypoperfusion) โดยจะปรับตัวได้ถ้าความดันเฉลี่ยของร่างกายมากกว่า 80 มม.ปรอท ขึ้นไป
ภาวะหัวใจวายเลือดคั่ง (congestive heart failure)
และโรคตับแข็ง (cirrhosis)
มีสารน้ำคั่งอยู่มาก
สารพิษและยาที่มีผลต่อไต (nephrotoxins) ตัวอย่าง เช่น
NSAID
Post renal acute renal failure
การอุดตันทางเดินปัสสาวะ (obstructive
uropathy) เช่น นิ่ว ก้อนเนื้องอก
3.Intrinsic acute failure หมายถึง โรคที่เกิดจาก
เนื้อไตเอง
โรคที่เกิดจากเส้นเลือดใหญ
โรคที่เกิดจากเส้นเลือดเล็ก glomerulonephritis
โรคที่เกิดจากทิวบุล (ATN) มีสาเหตุจาก
เลือดมาเลี้ยงไตน้อยลง (ischemic
ATN) สาเหตุจากภาวะสูญเสียน้ำ
อย่างรุนแรง แผลไฟไหม
เกิดจากสารเคมีหรือยาที่มีผลต่อไตโดยตรง
พยาธิสภาพไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
เลือดมาไตน้อยลง
กระตุ้นJuxtaglomerular apparatus
หลั่งเอนไซม์
เรนิน
สร้างแองจิโอเทซิน
I, II
หลอดเลือดส่วนปลำยหดตัว
กระตุ้นAdrenal gland ส่วน
Medullar
หลั่ง Aldosterone,
ADH
1 more item...
สามารถแบ่งการดำเนินของพยาธิสภาพได้ 4 ระยะ
ระยะเริ่มแรก (initial phase)
ระบบประสาท ซิมพาธิติคและมีการหลั่งสารที่ทำให้หลอดเลือดทั่วร่างกายหดตัวมีผลต่อการปรับระดับการไหลเวียนของเลือดความดันโลหิต เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงที่อวัยวะสำคัญทำให้เลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง
ระยะที่มีการทำลายของเนื้อไต (maintainance)
ไตเสียหน้าที่ให้การขับของเสียและรักษาสมดุลน้ำ อิเลคโตรลัยท์ความเป็นกรด – ด่าง
ตรวจพบอัตราการกรองของไตลดลงเหลือ 5 – 10 มล. / นาที
ปัสสาวะจะออกน้อยมาก หรือน้อยกว่า 400 มล.ต่อวัน
ค่า BUN, creatinin สูงกว่าปกติ
ภาวะแทรกซ้อนของระยะนี้คือภาวะของเสียคั่งในเลือด (uremia)
ระยะที่มีปัสสาวะออกมาก (Diuretic
phase)
ระยะนี้กินเวลา 5-10 วัน
บางรายอาจมีปัสสาวะออกมากถึงวันละ 5 ลิตร
ระยะนี้ไตยังท าหน้าที่ไม่สมบูรณ์
มีการถ่ายปัสสาวะเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังไม่สามารถทำให้ปัสสาวะมีความเข้มข้นได้
ระยะที่ไตเริ่มฟื้นตัว (recovery phase)
ค่า BUN, creatinin จะค่อย ๆ ลดลงสู่ระดับปกติ
ปัสสาวะจะเริ่มออกมากขึ้น ระดับยูเรียเริ่มลดลง
ระยะนี้ไตยังทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์
การตรวจร่างกายตามระบบ
ผิวหนังมีผื่นคัน
เพราะผู้ป่วยที่มีการคั่งของ
ยูเรีย ครีเอทีนิน และของเสียอื่น ๆ มักจะมีอาการคัน
ตามลำตัวหรือมีอาการบวม
ทรวงอกและทางเดินหายใจ
กลิ่นลมหายใจ
จะมีกลิ่นยูเรีย
หัวใจและหลอดเลือด
อาจพบความดันโลหิตต่ าในระยะแรกต่อมาจะมีความดันโลหิตสูงร่วมกับภาวะ arrhythmia
ทางเดินอาหาร
อาจพบปากอักเสบ
รับประทานอาหารได้น้อย คลื่นไส้อาเจียนท้องอืด อุจจาระร่วง หรือถ่ายอุจจาระเป็นเลือดสด ๆ
ทางเดินปัสสาวะ
อาจตรวจพบจ านวนปัสสาวะ
ใน 24 ชม. พบว่าน้อยกว่า 400 มล.
ระบบประสาท
สับสนซึม ชัก
หรือหมดสติได
การรวบรวมผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจปัสสาวะsp–qr. สูงมากกว่า
1.025
การตรวจเลือด มักพบ Na, K สูงมากในเลือดร่วมกับค่า
BUN, Cr. สูงขึ้น
การตรวจทางรังสีวิทยา กรณีที่มีปัญหาการอุด
กั้นทางเดินปัสสาวะ การทำ Plain KUB ทำ
ให้ทราบว่ามีการอุดกั้นที่ตำแหน่งใด และมีเท่าไหร
ผลกระทบของไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
ภาวะแทรกซ้อนทางสมอง (ซึม ชัก) เนื่องจาก
ภาวะยูรีเมีย (uremia)
ภาวะเลือดออกง่าย เนื่องจากเกล็ดเลือดไม่จับตัว
ทำให้มีเลือดออกง่าย อาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (pericarditis) เกิดจาก
การคั่งของ BUN (BUN>100 mg/dl) ผู้ป่วย
จะมีอาการไข้สูง เจ็บหน้าอก
ภาวะติดเชื้อง่าย เนื่องจากภูมิคุ้มกันต่ำ
การป้องกันภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
การประเมินหาปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วย
การให้สารน้ำ
การใช้ยาป้องกัน โดยใช้ยากลุ่มที่ใช้เพื่อเพิ่ม RBF
กลุ่มยาที่ใช้เพื่อลดภาวะ inflammation และกลุ่ม และกลุ่ม
ยาที่ใช้เพื่อลดภาวะ oxidative stress
การรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสาเหตุ
ก่อนไต
ต้องพยายามเพิ่ม การก าซาบที่ไต (renal
perfusion)
อาจจะพิจารณาให้ยาขับปัสสาวะร่วมด้วย
ข้อควรระวังอย่าให้สารน้ำมากจนเกิดภาวะน้ำเกิน
พยาบาล ต้องประเมิน
-สภาพการรับรู้ การรู้สติของผู้ป่วย สัญญาณชีพ
-ตรวจและบันทึกระบบหัวใจ หลอดเลือด
-ระบบหายใจ โดยเฉพาะปอด
-จดบันทึกจ านวนสารน้ าและอื่น ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย และปัสสาวะที่ออกมา ทุกชั่วโมงอย่างถูกต้อง
-ประเมินผลการตอบสนองต่อการรักษา และหลังให้การพยาบาล
การรักษาภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
แก้ตามสาเหตุที่ไตฉะนั้นการแก้ไขหรือการรักษา อาจจะต้องแก้ไข
ภาวะยูรีเมียก่อน โดยการทำไดอะลัยสิสก่อนแล้วจึงแก้ไขหรือรักษาภาวะการอุดตัน ร่วมกับการให้ยา
ปฏิชีวนะ โดยการผ่าตัดเอานิ่ว
การรักษาแบบประคับประคอง (Conservative
treatment)
สารน้ าและสารอิเลคโตรลัยท์ (Fluid and Elyte)
1.1 ในระยะที่มีท าให้มีภาวะ K ในเลือดสูงขึ้นปัสสาวะออกมาน้อยแก้ไขภาวะKสูงดังนี้
ถ้า EKG เปลี่ยนแปลงถึงขั้นมี prolonged
QRS complexes
ให้ 10% แคลเซียมกลูโคเนต หรือ 10% แคลเซียม
คลอไรด์ 10 มิลลิลิตรเข้าทางหลอดเลือดด าอย่างช้า
ๆ ในเวลา 5 นาที การรักษาด้วยวิธีนี้จะได้ผล
ภายใน 5 – 15 นาที
ถ้าคลื่นไฟฟ้าหัวใจเปลี่ยนแปลงมี peaked T
wave แพทย์มักให้ยาที่มีผลท าให้ K ถูกดึงกลับเข้า
1) ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต 50 มิลลิลิตร เข้าทางหลอด
เลือดดำอย่างช้า ๆ และ
2) ให้กลูโคส 30 กรัมเข้าทางหลอดเลือดดำแล้ว
ตามด้วยเรกูล่าอินสุลิน วิธีนี้ได้ผลภายใน 30 นาที ถึง 2 ชั่วโมง
ภาวะความเป็นกรด (Metabolic acidosis)
โซเดียมไบคาร์บอเนต ( NaHCO3) เมื่อ
ตรวจพบ HCO3 ในเลือดต่ ากว่า 10 mEq/ml แตถ้าร่างกายมีภาวะความเป็นกรดรุนแรง หรือแก้ไขด้วยยาดังกล่าวไม่ได้ แพทย์อาจจะพิจารณาท า Dialysis
ภาวะฟอสเฟตสูง (Hyperphosphatemia)
อาจให้ยาพวก Phosphate – binding
antacid (Aluminum hydroxide) ซึ่งจะเป็นตัวที่ช่วยขับฟอสเฟตออกทางอุจจาระ
อาหาร (Diet)
ต้องจำกัดอาหาร
พวกโปรตีน
จ ากัดหรือหลีกเลี่ยงอาหารที่มี โปแตสเซียมสูง (K) เช่น ผลไม้ องุ่น มะละกอ กล้วยส้ม ผักใบเขียว
้ต้องจำกัดไซเดียม
การรักษาด้วยการท าไดอะลัยสิส (Dialysis)
การขจัดของเสียออกทางเยื่อบุช่องท้อง
(peritoneal dialysis)
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
(hemodialysis)
การบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง
(continuous renal replacementtherapy: CRRT)
ไตเรื้อรัง
(chronic kidney disease)
1.** ผลการตรวจเลือดพบ ครีเอตินิน (creatinin) มากกว่า
3 มก./ดล. เป็นเวลานานกว่า 3 เดือน
ผู้ป่วยที่มีGFR น้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร ติดต่อกันเกิน 3 เดือน
ระยะของโรค
ระยะที่ 1 มากกว่า,เท่ากับ 90 ปกติ,สูง
ระยะที่2 60-89 ลดลงเล็กน้อย
ระยะที่3a 45-59 ลดลงเล็กน้อยถึงปานกลาง
ระยะที่3b 30-44ลดลงปานกลางถึงมาก
ระยะที่4 15-29 ลดลงมาก
ระยะที่5 น้อยกว่า15 ไตวายระยะสุดท้าย
สาเหตุของไตเรื้อรัง
กลุ่มอาการเนฟโฟติคกลายเป็นหลอดเลือดฝอยไตอักเสบเรื้อรัง (chronic
glomerulo nephritis)
กรวยไตอักเสบเรื้อรัง (chronic pyelonephritis)
โรคหลอดเลือด ได้แก่ หลอดเลือดแดงที่ไตตีบ (renal artery stenosis)
ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (essential hypertension)
มีความผิดปกติของไตแต่ก าเนิด (polycystic kidney)
การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ เช่น นิ่วในไต,เลือดต่อมลูกหมากโต
โรคที่มีผลทั่วระบบ (systemic disease) เช่น เอส.แอล.อี
(SLE) โกลเมอรูลัสเสื่อมจากโรคเบาหวาน (glomerulosclerosis)เมลิออยโดสิส (meloidosis) มัลติเพิลมัยอิโลมา (multiplemyeloma)
โปตัสเซียมต่ าจากไตพิการ (hypokalemic nephropathy)
พยาธิสรีรวิทยาของไตเรื้อรัง
อาการและอาการแสดงของไตเรื้อรัง จะปรากฎเมื่อหน้าที่ของไตเสียไปมากกว่าร้อยกว่า 75 – 80
ขั้นตอนของไตเรื้อรังแบ่งออกเป็น 4 ระยะ
การท างานของไตลดลง (Early stage or
diminished renal reserve)
เป็นระยะที่ไตลดการทำงานลงเหลือประมาณ ร้อยละ 40
ของปกติไม่มีการสะสมของเสียไว้ในเลือด BUN cr ปกติ
2.ไตเสื่อมสมรรถภาพ (renal insufficiency)
เป็นระยะที่มีการลดอัตราการกรอง (glomerularfiltration rate)เหลือประมาณ 20 มล.ต่อนาที
ส่วน E’Lyte อื่น ๆ ยังความปกติ
ไตทำหน้าที่ได้ประมาณร้อยละ 15 – 40 ของปกติ
ไตวาย (renal failure)
เป็นระยะที่
มีระดับยูเรียในเลือดสูงขึ้น มีการคั่งของของเสีย (azotemia)
ไตวายระยะสุดท้ายหรือยูรีเมีย (uremia)
เป็นภาวะสุดท้ายของไตเรื้อรังหรือที่เรียกว่า ESRD (End State Rena lDisease)
มีภาวะไม่สมดุลของน้ำ E’lyte และกรด - ด่างมากขึ้น
อาการและอาการแสดง
-อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายกว่าปกติ
-อาการอื่นที่อาจพบร่วม คือ ซึม ลง มึนงง
-นอนไม่หลับหรือหลับแล้วฝันร้ายบ่อยๆ
-เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน การรับรสของลิ้นเปลี่ยนแปลงไป
-น้ำหนักลด ชาตามปลายมือปลายเท้า คันตามตัว
-รู้สึกหนาวง่ายกว่าปกติ
-ปวดแสบปวดร้อนบริเวณเท้า ปวดศีรษะ พูดไม่ชัด
อาการเตือนที่สำคัญ 6 อาการ
1.การเปลี่ยนแปลงของการขับถ่ายปัสสาวะ
2.มีอาการแสบร้อนเวลาถ่ายปัสสาวะ
3.ปัสสาวะมีเลือดปน
4.มีการบวมของใบหน้า ท้องและหลังเท้า
5.มีอาการปวดบั่นเอวหรือด้านหลัง
6.มีความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้มาจากสาเหตุอื่นๆ
End State Renal Disease
(ESRD ) ไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
ลักษณะทางคลินิก CKD (Clinical manifestations)
ความผิดปกติในภาวะสมดุลของสารเคมี อิเลคโตรลัยต์และสารน้ า
ซึ่งเป็นผลโดยตรงจากการเสื่อมหน้าที่ของไต
ความเปลี่ยนแปลงในการท าหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
ผลกระทบของภาวะไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง
ภาวะหัวใจล้มเหลว เช่นภาวะน้ำและโซเดียมใน
ร่างกายสูงมากเกินไป
ภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ระบบทางเดินหายใจ ที่พบคือ
ท่วมปอด ปอดอักเสบ
ระบบประสาท ระบบประสาทส่วนกลาง เริ่มตั้งแต่มีอาการซึมลง ขาดความมีสมาธ
ระบบประสาทส่วนปลาย
มักพบว่ามีอาการ restless leg syndrome
– ซึ่งเริ่มมีอาการร้อนที่เท้า
ระบบทางเดินอาหาร นอกจากนี้ผู้ป่วยหายใจได้กลิ่นปัสสาวะ
(uremic fetor)
ระบบเลือดและอวัยวะรับเลือด ภาวะโลหิตจางเกิดจากสาเหตุมีการสร้างฮอร์โมนerytroproietin น้อยลง
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก กล้ามเนื้อ ข้อ กระดูก มีผลให้ฟอสเฟตคั่งค้างในเลือดมาก ร่วมกับระดับแคลเซียมสูงขึ้นรวมตัวกันเป็นแคลเซียมฟอสเฟต
ระบบสืบพันธุ์
เกิดความรู้สึกทางเพศลดลง
การรักษาไตเรื้อรัง
จะเน้นเรื่องการรักษาแบบประคับประคอง
อาหาร (diet intervention)
ให้สารอาหารทดแทน และพลังงานที่เพียงพอแก่ร่างกาย
งดไข่แดง นม หลีกเลี่ยงโปรตีนที่มาจากพีช เนื่องจากมีฟอสฟอรัสมาก
ร่างกายจะสูญเสียสารอาหารโปรตีน ดังนั้น ผู้ป่วยควรเลือกรับโปรตีนให้
เพียงพอโดยกินไข่ขาววันละ 2 ฟอง และกินเนื้อสัตว์ไขมันต่ำ
หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์แปรรูป
การจำกัดน้ำ (fluid restriction)
การจำกัดเกลือ
ยา (Medication therapy)
ให้ cation – exchange เช่น เคเอกซาเลท (sodium
polystyrene sulfate)
ให้อินซุลินและกลูโคส
ให้แคลเซียมไบคาร์บอเนต
Aluminium hydroxide
เพื่อป้องกันตัวยาถูกดูดซึมเข้าไปมีผล
ต่อภาวะสมดุลกรด- ด่าง ในร่างกาย
การบำบัดทดแทนไต
(renal replacement therapy; RRT)
1.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (hemodialysis)
2.การล้างไตทางหน้าท้อง (peritoneal dialysis)
3.การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (kidney transplantation)
การขจัดของเสียออกทางเยื่อบุช่องท้อง
CAPD
C = Continuous น้ ายาล้างไตจะอยู่ในช่องท้องตลอดเวลา
A = Ambulatory ระหว่างการเปลี่ยนน้ ายาผู้ป่วยสามารถ
P = Peritoneal ใช้ผนังเยื่อบุช่องท้องเป็นตัวกรองของเสีย
D = Dialysis การล้างไตเกิดขึ้นโดยการดึงของเสียและน้ำ
ข้อบ่งชี้ในการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
Uremic symptoms ได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน
E’lyte imbalance K> 7.0 mEq/L
Fluid overload ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
Acic base imbalance severe metabolic acidosis
BUN > 80-100 mg/dl
ข้อห้ามในการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
มีภาวะที่ขัดขวางการไหลของน้ำยาล้างไต
2.ผู้ป่วยที่มีIleostomy, Nephrostomy,Ileal
conduit
ผู้ป่วยที่มีภาวะปวดเรื้อรัง Degenerative disc
disease
5.น้ำหนักตัวในผู้ป่วยที่มีน้ าหนักตัวมากกว่า
100 กิโลกรัม
4.มีการติดเชื้อที่ผิวหนังทางหน้าท้องทางช่องท้อง
ผู้ป่วยมีความผิดปกติของลำไส้
ภาวะแทรกซ้อนจากการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
ภาวะติดเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายล้างไตทางช่องท้องปวดท้องช่วงที่ปล่อยน้ ายาเข้าปวดท้องในช่วงที่น้ ายาไหลออก เกิดจากสายอุดตัน
• มีการรั่วของน้ ายาบริเวณปากแผล (leakage)แรงดันในช่องท้องสูง
การพยาบาลผู้ป่วยทำ
continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD)
การฝังท่อล้างไต
การฝังท่อโดยไม่ต้องผ่าตัดเปิดผนังช่องท้อง
การฝังท่อโดยการผ่าตัด (Surgical)
การพยาบาลก่อนทำ CAPD
การเตรียมทางด้านจิตใจ
การเตรียมทางด้านร่างกาย
เตรียมน้ ายาไดอะลัยส์และอุปกรณ์ในการทำ
ประเมินการล้างมือของผู้ป่วย
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis)
ข้อบ่งชี้ในการทำHD
-มีระดับ Cr > 12 mg/dl
BUN >100 mg/dl
-ภาวะน้ าเกินน้ าท่วมปอดไม่ตอบสนองต่อ diuretic drug
ภาวะเลือดออกผิดปกติจาก ภาวะยูรีเมียทำให้การทำงานของเกร็ดเลือดบกพร่อง
-มีอาการคลื่นไส้อาเจียนตลอดเวลา
การเตรียมทวารหลอดเลือด
ส าหรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ทวารหลอดเลือดชนิดชั่วคราว
(temporary vascular access)
สายสวนเส้นเลือดด า เพื่อฟอกเลือดชั่วคราวที่คอ
(Double lumen venous catheter fortemporary access)
ทวารหลอดเลือดชนิดถาวร
(permanent vascular access)
Arteriovenous fistula, AV fistula, AVF-วิธีนี้เป็นวิธีที่ดีที่สุด
-แพทย์จะต่อเส้นเลือดด าเข้ากับเส้นเลือดแดงโดยตรงที่บริเวณข้อมือหรือข้อศอก จะทำให้แรงดันเลือดจากเส้นเลือดแดงไหลเทเข้าเส้นเลือดดำ จะท าให้เส้นเลือดด าที่แขนโตและแข็งแรง
การผ่าตัดต่อเส้นเลือดเทียม
ภาวะแทรกซ้อนที่พบขณะฟอกเลือด
ด้วยเครื่องไตเทียมในหอผู้ป่วยวิกฤต
Disequilibrium syndrome เกิดจากการที่หลอดเลือดของผู้ป่วยมี
uria nitrogen มาก การฟอกเลือดท าให้ uria nitrogenใน
เลือดของผู้ป่วยลดลงอย่างรวดเร็ว
Hypotension มีอาการและอาการแสดงดังนี้ เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว
Hypoxemia
Bleeding
Electrolyte disturbance
and cardiac arrhythmias
Male reproductive disordersโรคของระบบอวัยวะสืบพันธ์เพศชาย
ต่อมลูกหมากโต (Benign prostatic hypertrophy: BPH)
ต่อมลูกหมากเป็นส่วนหนึ่งของอวัยวะเพศชาย มีรูปร่างคล้ายลูกหมาก
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดว่าอะไรเป็นต้นเหตุ เพียงแต่
เข้าใจว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับความไม่สมดุลระหว่างฮอร์โมนแอนโดรเจน กับเอสโตรเจนในผู้สูงอาย
พยาธิสรีรวิทยา
-การเปลี่ยนแปลงมักเป็นที่ lateral lobe และ median lobe
-ต่อมลูกหมากโตขึ้น ท าให้ท่อปัสสาวะส่วน prostatic ยาวขึ้น และท่อ
ปัสสาวะส่วนนี้จะถูกเบียดให้แคบและยาวขึ้นย่นเข้าไปในคอของกระเพาะปัสสาวะ
-ท่อปัสสาวะมีการอุดกั้น และเกิดการเปลี่ยนแปลงที่กระเพาะปัสสาวะ ท่อไตและไตจนกระทั่งไตโป่งพอง และมีการติดเชื้อร่วมด้วย
อาการและอาการแสดง
-ผู้ป่วยจะปัสสาวะบ่อย
-จะมีอาการถ่ายปัสสาวะขัด
-สายปัสสาวะอ่อนลง ปัสสาวะไม่พุ่ง
การติดเชื้อจะเกิดร่วมด้วยเสมอ ซึ่งจะท าให้ปัสสาวะขุ่นเป็นหนอง และปวด ถ้าการอุดกั้นนี้ยังมีต่อ จะท าให้หลอดไตและโตโป่งพอง ไตค่อยๆเสื่อมสมรรถภาพไปหรือภาวะยูรีเมียเรื้อรัง
การรักษา
ควรงดดื่มของเหลวหรือแอลกอฮอล
แพทย์อาจะสั่งยาบางชนิดให้ เช่น ยาประเภทยับยั้งเอ็นไซม์พวก Proscar
(finasteride)
รักษาด้วยความร้อน (การใช้ความร้อนกับเนื้อเยื่อของต่อมลูกหมาก)
รักษาด้วยการผ่าตัดด้วยการส่องกล้อง เพื่อตัดเอาชิ้นเนื้อส่วนที่
เกินออกมาจากต่อมลูกหมาก (TURP) ส่งท่อที่มีกล้องขนาดเล็กผ่านเข้าสู่ท่อปัสสาวะ ตรงปลายท่อจะมีเครื่องมือผ่าตัดขนาดเล็กใช้ส าหรับตัดเนื้อเยื่อต่อมลูกหมาก
มะเร็งต่อมลูกหมาก (prostate cancer)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก
-อายุ มะเร็งต่อมลูกหมากพบในผู้ป่วยอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป อายุโดย
เฉลี่ยประมาณ 70 ปี
-ประวัติครอบครัว
-เชื้อชาติ
-อาหาร
-บุหรี่
อาการของมะเร็งต่อมลูกหมาก
ปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะเวลากลางคืน
เวลาเริ่มปัสสาวะจะล าบาก ปัสสาวะไม่พุ่ง
อ่อนเพลีย ผอมลง น้ าหนักลด
การวินิจฉัยโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก
Transrectal ultrasonography
Intravenous pyelography คือ การฉีดสีเข้าหลอดเลือดดำ
การตรวจต่อมลูกหมากทางทวารหนัก โดยการที่แพทย์ใส่ถุงมือ ใช้
vaslin หล่อลื่นนิ้วมือ แล้วตรวจต่อมลูกหมากทางทวารหนักเพื่อดูว่าโตขนาดไหน
การตรวจหา PSA
การรักษา
radical retropubic prostatectomy
ผ่าตัดผ่านทางหน้าท้องโดยตัดเอาต่อม
radical perineal prostatectomy
ผ่าตัดผ่านทางผิวหนังบริเวณอัณฑะและทวาร
transurethral resection of the prostate (TURP)
เป็นการตัดต่อมลูกหมากโดยการส่องกล้องผ่านอวัยวะเพศเป็นการตัดชิ้นเนื้อเพื่อให้ปัสสาวะไหลคล่อง
Radiation therapy การให้รังสีรักษา
Hormonal therapy เนื่องจากมะเร็งต่อมลูกหมากต้องใช้ฮอร์โมน
ในการเจริญเติบโตการให้ฮอร์โมนจะใช้ในกรณีที่มะเร็งไดแพร่กระจายแล้วหรือเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ าหลังการรักษา
Chemotherapy เป็นการฆ่าเซลล์มะเร็งโดยการให้สารเคม
cryotherapy เป็นการรักษาใหม่โดยใช้เข็มสอดเข้าในต่อมลูกหมาก
แล้วฉีดสาร liquid nitrogen
ผลข้างเคียงของการรักษา
การผ่าตัด จะท าให้เจ็บปวดในระยะแรก และผู้ป่วยต้องคาสายสวน
ปัสสาวะ10 วัน-3 สัปดาห์การผ่าตัดอาจจะท าให้กลั้นปัสสาวะและอุจาระ
ไม่ได้ และอาจจะเกิดกามตายด้านนอกจากนี้จะไม่มีน้ าเชื้อเมื่อถึงจุดสุดยอด
การฉายรังสี จะท าให้ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลียการผักผ่อนเป็นเรื่องที่สำคัญแต่ก็ควรออกก าลังเท่าที่จะท าได้การฉายรังสีอาจจะท าให้ผมร่วง และอาจจะท าให้เกิดกามตายด้าน
การให้ฮอร์โมน จะท าให้ผู้ป่วยเกิดอาการเหมือนชายวัยทองคือมีอาการกามตายด้านร้อนตามตัว