Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต
ผู้ที่มีภาวะสูญเสีย/ทุกข์โศก (Loss and Grife)
ความหมาย
เป็นภาวะสูยเสียทางอารมณ์ ความรู้สึกที่ต้องแยกจาก สูญหาย บุคคลรับรู้ถึงคุณค่าของสิ่งที่สูญเสีย อาจเกิดขึ้นทันทีทันใด อาจทำให้ชอกช้ำเจ็บปวดอย่างมาก
ปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความรุนแรงและรูปแบบของการแสดงออกของการสูญเสีย
ความรู้สึกต่อสิ่งที่สูญเสีย เป็นการให้คุณค่าและความสำคัญกับสิ่งที่สูญเสีย
บุคคลิกภาพและความพร้อม บุคคลิกภาพเข้มแข็งสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
ประสบการณ์การสูญเสีย การเรรียนรู้และเผชิญและแก้ปัญหาที่เกิดจากการสูญเสียได้อย่างเหมาะสมในอดีต
แหล่งสนับสนุน การได้รับแรงสนับสนุนทางครอบครัว และสังคม
ประเภทของการสูญเสีย
1.การสูญเสียบุคคลสำคัญของชีวิต
2.การสูญเสียสมบัติหรือความเป็นเจ้าของ
3.การสูญเสียความสสสมบรณ์ทางสรีระ จิตใจ และสังคม
ประเภทของสูญเสียของมาสโลว์
1.การสูญเสียทางกาย
2.การสูญเสียความปลอดภัย
3.การสูญเสียความมั่นคงและความรู้สึกเป็นเจ้าของ
4.การสูญเสียความเคารพนับถือตัวเอง
5.ความสูญเสียที่สัมพันธ์กับการทำเต็มตามศักยภาพของตนเอง
ความหมายของความทุกข์โศก (Grief)
Grief ความรู้สึกเสียใจ ที่เกิดขึ้นเมื่อคาดว่าจะมีการสูญเสียหรือรับรุ้ว่าตนเองสูยเสีย
Mourning กระบวนการแสดงออกที่มีอารมณ์ที่เกิดจากการสูญเสีย
Bereavement ช่วงระยะเวลาในกระบวนการทุกข์โศก นับตั้งแต่เริ่มจนปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติ
กระบวนการทุกข์โศก
กระบวนการทุกขืโศกปกติ
ระยะแรก ระยะเฉียบพลัน
อยุในช่วง 4-8 สัปดาห์ เป็ฯช่วงที่ไม่ยอมรับการสูญเสีย เริ่มด้วยอาการตกตะลึง ตกใจ ตัวชา ไม่เชื่อ ปฏิเสธ เมื่อกลไกการปฏิเสธเริ่มลดลง ความรู้สึกเจ็บปวดจะเกิดรุนแรงตามระดับความสำคัญของสิ่งที่สูยเสีย อาการที่พบบ่อยคือร้องไห้ คว่มโกรธ
ระยะที่สอง ระยะเผชิญกับดารสูยเสีย
ใช้เวลาประมาณ 1-2 ปี มักหมกมุ่นกับสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ แยกตัว เลื่อนลอย ไม่ยอมรับความจริง เมื่อยอมรับการสูญเสียจะพยายามตัดความสัมพันธ์ กลับสู่สังคม มีสัมพันะภาพและตั้งเป้าหมายใหม่
กระบวนการทุกข์โศกผิดปกติ
ไม่เป็นไปตามการปรับสภาพจิตให้เป็นไปตามกระบวนการทุกข์โศก
มีเศร้ายาวนาน คือ หมกมุ่นกับความทรงจำเก่าๆ ไม่สามารถขจัดความเสียใจได้
ปฏิกิริยาที่ผิดปกติ
เมื่อไม่สามารถปรับตัวไปตามกระบวนการทุกข์โศกได้
ปฏิกิริยาทุกข์โศกล่าช้า
คูเบลอรร์-รอสส์
1.ปฏิเสธ เป็นความรู้สึกช้อก และไม่เชื่อว่าได้มีการสูญเสียเกิดขึ้น
2.โกรธ รู้สึกว่าไม่เป็นธรรมมที่ภาวะสูญเสียจะต้องมาเกิดขึ้นกับเขา
3.การต่อรอง ที่จะไม่ต้องเกิดการสูญเสีย
4.ภาวะซึมเศร้า เมื่อรู้แน่ชัดว่าภาวะสูญเสียเกิดขึ้นกับตนเองแน่แล้ว จะรู้สึกหมดหวัง หดหู่ เบื่อหน่าย
5.ยอมรับ จะยอมรับภาวะสูญเสีย และภาวะซึมเศร้าจะหาย
การพยาบาล
ระยะปฏิเสธ
ในระยะนี้ผู้สูญเสีย ปฏิเสธไม่ยอมรับ หรือช็อก
พยาบาลจะต้องสร้างสัมพันธภาพให้เกิดความความเชื่อใจ
พยาบาลควรเป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำแก่ผู้สูญเสีย
ให้รับฟังด้วยความสงบ
ระยะต่อรอง
พยาบาลต้องยอมรับและเข้าใจในพฤติกรรมของผู้สูญเสีย
ให้แสดงท่าทีที่เคารพ
เปิดโอกาสให้พูดระบายความรู้สึก
ระยะซึมเศร้า
พยาบาลเปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึกโศกเศร้า รับฟังด้วยท่าทีเข้าใจ
ประเมินความคิดทำร้ายตนเองหรือคิกฆ่าตัวตาย
ช่วยหาสนับสนุนทางสังคม
นอกจากนี้ควรให้การดูแลด้านร่างกาย
ระยะยอมรับ
เริ่มปรับตัว และกลับมาดำเนินชีวิตประจำวันตามปกติ
พยาบาลควรเปิดโอกาสให้สูญเสียได้เล่าถึงความทรงจำที่ดี ปรับตัว
ส่งเสริมการร่วมกิจกรรม ช่วยให้้จิตใจสงบ ผ่อนคลาย
พยาบาลสามารถแนะนำให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูญเสียร่วมด้วย
การพยาบาลผู้ทุกข์โศก
1.สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่เชื่อถือได้
2.ส่งเสริมให้ลดความรู้สึกเศร้าโศกลง
3.ส่งเสริมการสร้างและคงความหวังที่เป็ฯจริง
4.กระตุ้นให้ผู้ทุกข์โศกเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
6.สนับสนุนค้ำจุนจิตใจของญาติ
7.ป้องกันการเกิดปฏิกิริยา
8.ดูแลช่วยเหลือเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน
ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า
เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการสูญเสีย ทำให้เกิดความรู้สึกมืดมน หดหู่ อาจเกิดความรู้สึกไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป คิดว่าตนเองไร้ค่่า ปกพร่องในการทำหน้าที่
Grief อาการทุกข์โศก เกิดเมื่อบุคคลมีประสบการณืที่ทำให้บุคคลนั้นสูญเสียความรู้สึก
Loss บุคคลที่ต้องแยกจากการสูญหาย หรือปราศจากบางสิ่ง อาจทำให้เกิดภาวะวึมเศร้า Depression เป็นปฏิกิริยาสูญเสียทำให้บุคคลลเกิดความรู้สึกมืดมน หดหู่ อ่อนเพลีย คิดว่าตนเองไร้ค่า
สาเหตุการเกิดภาวะซึมเศร้า
ปัจจัยทางชีววิทยา
สารสื่อประสาท
การทำงานของต่อมไร้ท่อ
ผลของยาบางชนิด
พันธุกรรม
ปัจจัยทางด้านจิตใจ
ทฤษฎีเกี่ยวกับความคิด
1.คาดหวังสิ่งแวดล้อม
2.บุคคลมองตนเองในแง่ลบ
3.มองอนาคตในแง่ลบ
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
Ego ไม่สามารถ สามารถทำงานได้อย่างเสรี เพราะถูก Super ego ที่มีอิทธิพลมากคอยลงโทษอยู่ ทำให้ Ego อ่อนแอ เกิดภาวะซึมเศร้า
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
อาการแสดง
ทางกาย
เก็บซ่อนตัว หลีกเลี่ยงสังคม ร้องไห้ง่สย ไม่ชอบเคลื่อนไหว ไม่อยากทำงาน เชื่องช้า สีหน้าแววตาซึมเศร้า นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ประจำเดือนผิดปกติ ความรู้สึกทางเพศลดลง
ทางใจ
เบื่อ ไม่กระตือรือร้น สิ้นหวัง จิตใจ หดหู่ ความจำไม่ดี รู้สึกไร้ค่า
การพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยเพื่อให้ผุ้ป่วยยอมรับความเจ็บป่วยและให้ความร่วมมือในการรักษา
2.ประเมินสาเหตุของภาวะซึมเศร้า
3.ประเมินระดับซึมเศร้า
4.สอบถามถึงความคิดในการค่าตัวตาย
ด้านจิตใจ
1.ให้ความเป็นมิตรเป็นเพื่อน เพื่อให้ผู้รับบริการอบอุ่น
2.เอาใจใส่ และตอบสนองในสิ่งที่ผู้รับบริการอย่างเหมาะสม
3.รับฟังความทุกข์ ความไม่สบายใจ
4.แสดงความปราถนาดีและอดทนต่อพฤติกรรมเชื่องช้า
5.ไม่กล่าวประณามการกระทำที่ไม่ถูกต้อง
6.ใช้ควมสังเกตและไหวพริบในการทายใจผุ้บริการ
ผู้ที่มีภาวะโกรธ
อารมณ์โกรธ
เป็ฯอารมณ์พื้นฐานของมนุษย์ ไม่มีเหตุผลเกิดจากความคับข้องใจ รุนแรงตั้งแต่ระดับที่แสดงออกถึงเกรี้ยวกราด
ความรู้สึกไม่เป็นมิตร
เป็นพฤติกรรมก้าวร้าวใช้คำพูดแสดงออกทางอารมณ์ ไม่คำนึงถึงกฎเกณฑ์ ้กิดจากความรู้สึกถูกคุกคาม นำไปสู่พฤติกรรมก้าวร้าวโดยใช้กำลัง
พฤติกรรมก้าวร้าว
เป็นพฤติกรรมแสดงความโกรธและการกระทำ โดยไม่คำนึกสิทธิของผู้อื่น ต่อสู้เพื่อให้ได้ความต้องการของตนเอง เกิดจากการไม่สามารถควบคุมมอารมณ์โกรธและความเป็นมิตรได้ พบบ่อยบุคคลที่ขาดความมั่นใจในตนเอง
สาเหตุ
ปัจจัยทางชีววิทยา
การแสดงอารมณ์และพฤติกรรมของบุคคล
การกำหนดพฤติกรรมมี่ต้องการทำ
ความจำ การตีความ
Serotonin ลดลง
ปัจจัยทางด้านจิตใจ
ทฤษฎีคับข้องใจ-ความก้าวร้าว
การที่บุคคลถูกขัดขวางไม่ให้ได้รับสิ่งที่คาดหวังไว้
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
แรงขับของสัญชาตญาณ คือ แรงผลักดันเพื่อดำรงชีวิต
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
การเรียนรู้พฤติกรรมก้าวร้าวด้วยตนเอง
การสังเกตจากต้นแบบ
แบบอย่างที่ไม่เหมาะสมรับรู้จนเคยชิน เรียนรู้การกระทำรุนแรงเป้นวิธีแก้ปัญหา
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยยา
ยากลุ่มอาการต้านเศร้า
ยากลุ่มลดความวิตกกังวลและยานอนหลับ
ยาควบคุมอารมณ์
ยาต้านอาการทางจิต
กลุ่มอื่นๆ
การพยาบาล
ผู้ที่มีอารมณ์โกรธ
1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
2.ฟังอย่างตั้งใจ
3.เมื่ออารมณ์โกรธลดลงให้ผู้ป่วยสำรวจสาเหตุ
4.จัดกิจกรรมที่ออกแรง
5.ให้คำแนะนำวิธีการจัดการอารมณ์โกรธ
ผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
ท่าของพยาบาล
1.พยาบาลควรควบคุมอารมณ์ของตนเอง
2.ไม่ควรเข้าไปพบผู้ป่วยคนเดียว
3.ควรยืนอยู่ห่างผู้ป่วยพอสมควร
การพยาบาล
1.พยาบาลเรียกชื่อผู้ป่วยด้วยเสียงที่ดังพอควร ใช้น้ำเสียงโทนต่ำ
2.บอกให้ผู้ป่วยหยุดพฤติกรรมที่กำลังก้าวร้าวอยู่
3.ถ้าไม่ได้ผล ดำเนินการโดยจับผู้ป่วยเพื่อผูกยึด และรักษาด้วยยา
4.ผูกยึดแล้วควรบอกสาเหตุ
5.เมื่อผู้ป่วยสงบ ควรเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก
6.ให้คำแนะนำวิธีการจัดการความโกรธ
แนวทางการพยาบาล
ช่วยให้ยอมรับว่าตนเองกำลังโกรธ
ช่วยค้นหาสาเหตุที่ทำให้โกรธ
ช่วยให้ค้นระบายพลังงานภายในที่เกิดจากอารมณ์โกรธ
จัดการกับความรู้สึกโกรธก่อนที่จะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว