Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ ระบบทางเดินปัสสาวะ…
บทที่ 13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ
ระบบทางเดินปัสสาวะ ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
ไตเรื้อรัง
(chronic kidney disease)
สาเหตุ
โรคหลอดเลือด
กลุ่มอาการเนฟโฟติคกลายเป็นหลอดเลือดฝอยไตอักเสบเรื้อรัง
มีความผิดปกติของไตแต่กำเนิด
การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
โรคที่มีผลทั่วระบบ
กรวยไตอักเสบเรื้อรัง
โรคไตระยะสุดท้ายEnd State Renal Disease (ESRD )
หลักการการรักษา
4.ป้องกันและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด
2.ประเมินและรักษาโรคหรือภาวะอย่างอื่นที่พบร่วมด้วย
1.การรักษาเฉพาะเจาะจงตามชนิดของโรคไตเรื้อรัง
3.ชะลอการเสื่อมของไต
ผลกระทบของภาวะไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบประสาทส่วนปลาย
ระบบทางเดินหายใจ ท่วมปอด ปอดอักเสบ
ภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ มีไข้ต่ำ ๆ ตรวจพบระดับยูเรียในเลือดมากกว่า 100 mg %
• ระบบหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง
ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง ภาวะน้ าและโซเดียมในร่างกายสูงมากเกินไปภาวะโลหิตจาง
ระบบประสาท ระบบประสาทส่วนกลาง
ลักษณะทางคลินิก CKD (Clinical manifestations)
ความผิดปกติในภาวะสมดุลของสารเคม
ความเปลี่ยนแปลงในการท าหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ
โรคไตระยะสุดท้ายมายถึง โรคไตวายเรื้อรังอย่างถาวร ที่มีการสูญ เสีย
หน้าที่การท างานของไตลดลงมากที่สุด
ไตเรื้อรัง (chronic kidney disease)ป็นภาวะที่ตมีความผิดปกติ มีการสูญเสียหน่วยไต
ผลของการเสื่อมหน้าที่ของไตท าให้มีการคั่งของของเสีย
ผลการตรวจเลือดพบ ครีเอตินิน (creatinin) มากกว่า3 มก./ดล. เป็นเวลานานกว่า 3 เดือน
ผู้ป่วยที่มีภาวะไตผิดปกตินานติดต่อกันเกิน 3 เดือน
1.2 ตรวจพบความผิดปกติทางรังสีวิทยา
1.3 ตรวจพบความผิดปกติทางโครงสร้างหรือพยาธิสภาพจากผลการเจาะเนื้อเยื่อไต
1.1 ตรวจพบความผิดปกติจากการตรวจปัสสาวะอย่างน้อย 2 ครั้ง
ผู้ป่วยที่มีGFR น้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร ติดต่อกัน
เกิน 3 เดือน
ขั้นตอนของไตเรื้อรังแบ่งออกเป็น 4 ระยะ
2.ไตเสื่อมสมรรถภาพ (renal insufficiency)
การทำงานของไตลดลง (Early stage ordiminished renal reserve)
ไตวายระยะสุดท้ายหรือยูรีเมีย (uremia)
ไตวาย (renal failure)
การบำบัดทดแทนไต(renal replacement therapy; RRT)
2.การล้างไตทางหน้าท้อง (peritoneal dialysis)
1.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (hemodialysis)
3.การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (kidney transplantation)
อาการและอาการแสดง
•อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายกว่าปกต
ปัสสาวะมีเลือดปน
•อาการอื่นที่อาจพบร่วม คือ ซึม ลง มึนงง
มีการบวมของใบหน้า ท้องและหลังเท้า
มีความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้มาจากสาเหตุอื่นๆ
•นอนไม่หลับหรือหลับแล้วฝันร้ายบ่อยๆ
มีอาการแสบร้อนเวลาถ่ายปัสสาวะ
การเปลี่ยนแปลงของการขับถ่ายปัสสาวะ
มีอาการปวดบั่นเอวหรือด้านหลัง
การรักษาแบบประคับประคอง
จำกัดเกลือ
การจำกัดน้ำ (fluid restriction)
อาหาร (diet intervention)ความจ าเป็นที่ต้องควบคุม
อาหารและจำกัดสารอาหาร
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารกระป๋อง
ยา (Medication therapy)
ขณะฟอกเลือดร่างกายจะสูญเสียสารอาหารโปรตีนผู้ป่วยควรเลือกรับโปรตีนให้เพียงพอโดยกินไข่ขาววันละ 2 ฟอง หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์แปรรูป
พยาธิสรีรวิทยาของไตเรื้อรัง
อาการและอาการแสดงของไตเรื้อรังจะปรากฎเมื่อหน้าที่ของไตเสียไป
มากกว่าร้อยกว่า 75 – 80
ตามปกติไตมีความสามารถที่จะรักษาภาวะสมดุลภายในร่างกาย
การรักษาไตเรื้อรัง
รักษาตามอาการของผู้ป่วย
ป้องกันไม่ได้เกิดภาวะแทรกซ้อน
กับระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
เพื่อดำรงคงไว้ซึ่งหน้าที่ของไต
continuous ambulatoryperitoneal dialysis (CAPD)
• วัตถุประสงค์
ป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับไตต่อไป
4.สร้างที่ว่างในร่างกายผู้ป่วยส าหรับให้สารน้ าในโภชนบ าบัด หรือให้ยา
ต่างๆ
ให้คงระดับของของเหลว เกลือแร่และขจัดสาร (solute removal)
ท าให้ไตฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว
การพยาบาล
การพยาบาลขณะทำ CAPD
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายศีรษะสูง
เจาะเลือดตรวจหา E’ lyte , Urea, Cr ทุก 12 ชั่วโมง
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยก่อนท าและขณะท าทุกวัน
3.สังเกตลักษณะของน้ำยาไดอะลัยส์ที่ออกจากช่องที่ออกจากช่องท้องผู้ป่วยทุกครั้ง
หากน้ำยาไม่ค่อยไหล
ให้ค่อยๆขยับเปลี่ยนท่า
ยึดหลักเทคนิคปราศจากเชื้อในการเปลี่ยนขวดแต่ละรอบ
ดูแลกิจวัตรประจำวันแก่ผู้ป่วยและทำความสะอาดร่างกาย
บันทึกแล้วรายงานแพทย์
สังเกตอาการและอาการแสดงของปัญหา
และภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
จดบันทึกเวลาและจ านวนน้ ายาไดอะลัยส์เข้าและออก
วัดสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
การดูแลสาย (Tenckhoff)
หลีกเลี่ยงการยกของหนักขึ้นบันได
2.ไม่ต้องเปลี่ยนแผลเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ยกเว้นมีเลือดซึม
เปลี่ยนแผลโดยวิธีปราศจากเชื้อ ใช้ก๊อสแห้งธรรมดาปิด
ห้ามอาบน้ำเพื่อไม่ให้แผลถูกน้ าจนกว่าแผลจะหายดี
หลังจากใส่สาย CAPD ควรปิดแผลด้วยก๊อสแห้งหลายชั้น
ยึดตรึงสายด้วยเทปไว้กับส่วนของร่างกาย
การพยาบาลก่อนทำ CAPD
• การพยาบาลผู้ป่วยที่ทำการขจัดของเสียออกทางเยื่อบุช่องท้อง
การเตรียมทางด้านจิตใจโดยอธิบายถึงจุดประสงค์ของการท าและตอบข้อซักถาม
การเตรียมทางด้านร่างกาย
เตรียมน้ ายาไดอะลัยส์และอุปกรณ์ในการทำ
ประเมินการล้างมือของผู้ป่วย (กรณีผู้ป่วยท าเอง)
การฝังท่อล้างไต
การฝังท่อโดยการผ่าตัด (Surgical)
การฝังท่อโดยไม่ต้องผ่าตัดเปิดผนังช่องท้อง
ข้อบ่งชี้ในการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
Fluid overload ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
Uremic symptomsด้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
E’lyte imbalance K> 7.0 mEq/
ภาวะแทรกซ้อนจากการท าการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
ภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายล้างไตทางช่องท้องปวดท้องช่วงที่ปล่อยน้ำยาเข้าปวดท้องในช่วงที่น้ำยาไหลออกมีการรั่วของน้ ายาบริเวณปากแผล (leakage)
ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆe,lyte imbalance น้ าเกิน ความดันต่ า
สูญเสียโปรตีนทางน้ ายาล้างไต
ภาวะติดเชื้อ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ข้อห้ามในการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
มีภาวะที่ขัดขวางการไหลของน้ ายาล้างไต
4.มีการติดเชื้อที่ผิวหนังทางหน้าท้องทางช่องท้อง
2.ผู้ป่วยที่มีIleostomy, Nephrostomy,Ileal
conduit
ผู้ป่วยที่มีภาวะปวดเรื้อรัง Degenerative disc
disease
CAPD หมายถึงการล้างไตวิธีหนึ่ง ที่อาศัยผนังเยื่อบุ
ช่องท้อง (peritoneum)ท าหน้าที่คล้ายเมมเบรนของตัวกรองฟอกเลือดแยกระหว่างส่วนของเลือด (blood compartment)กับส่วนของน้ำยาไต(dialysis compartment)
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis)
ข้อบ่งชี้ในการทำ HD
• BUN >100 mg/d
• มีระดับ Cr > 12 mg/dl
• ภาวะน้ำเกินน้ำท่วมปอดไม่ตอบสนองต่อ diuretic drug
• มีอาการคลื่นไส้อาเจียนตลอดเวลา
• ภาวะเลือดออกผิดปกติจาก ภาวะยูรีเมียท าให้การท างานของ
เกร็ดเลือดบกพร่อง
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis)หมายถึง การที่เอาเลือดออกจากร่างกาย
คำแนะนำในการดูแล AVF และ AVG
ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำยกแขนสูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อลดอาการบวม
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
สังเกตว่ามีลักษณะการสั่นสะเทือนของเส้นเลือดเท่าเดิม
เมื่อไม่มีอาการปวดแผล โดยใช้มือบีบลูกยางร่วมกับการใช้มืออีกข้างกำ
โดยปกติจะนัดตัดไหม 10 – 14 วัน
สังเกตอาการผิดปกติหลังการผ่าตัด
ควรคลำเส้นเลือดที่ใช้ฟอกเลือดบ่อยๆ
การเตรียมทวารหลอดเลือดสำหรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ทวารหลอดเลือดชนิดถาวร(permanent vascular access) แพทย์จะต่อเส้นเลือดด าเข้ากับเส้นเลือดแดงโดยตรงที่บริเวณข้อมือหรือข้อศอก จะทำ ให้แรงดันเลือดจากเส้นเลือดแดงไหลเทเข้าเส้นเลือดดำ จะทำให้เส้นเลือดดำที่แขนโตและแข็งแรง 2.การผ่าตัดต่อเส้นเลือดเทียม (arteriovenous graft, AVG) การผ่าตัดใช้เส้นเลือดเทียมเชื่อมต่อระหว่างเส้นเลือดแดงกับเส้นเลือดดำบริเวณแขน
ทวารหลอดเลือดชนิดชั่วคราว(temporary vascular access) ใช้ในระยะเวลา ≤ 1-3 สัปดาห์ ส าหรับผู้ป่วยARF ใส่ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในต่ำแหน่ง internal jugular vein
สายสวนเส้นเลือดดำ เพื่อฟอกเลือดชั่วคราวที่คอ(Double lumenvenous catheter fortemporary access)
การพยาบาลขณะทำ Hemodyalysis
สังเกตอาการและอาการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
ดูแลการทำงานของเครื่องไตเทียมอย่างสม่ าเสมอ
วัดสัญญาณชีพทุก 1 – 2 ชั่วโมง
พูดคุยให้คำแนะนำ พร้อมทั้งประเมินสภาพจิตใจของ
ผู้ป่วยขณะทำ
การพยาบาลหลังทำ Hemodyalysis
ชั่งน้ำหนัก วัดสัญญาณชีพ เจาะเลือดหา Hb และตัวอื่น ๆ ที่
จ าเป็นก่อนให้ผู้ป่วยกลับบ้าน
สังเกตอาการและอาการเปลี่ยนแปลง บางรายอาจมีการเปลี่ยนแปลง
ในระยะท้าย
เมื่อถอดเข็มออกจากหลอดเลือดผู้ป่วย ใช้ผ้าก๊อสสะอาดปราศจากเชื้อ
กดบริเวณแผลจนแน่ใจว่าไม่มีเลือดออกแล้วจึงปิดแผล
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวและอธิบายถึงอาการและผลการฟอก
เลือดแก่ผู้ป่วย
ภาวะแทรกซ้อนที่พบขณะฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในหอผู้ป่วยวิกฤต
Hypoxemia
Disequilibrium syndrome
Electrolyte disturbance
and cardiac arrhythmias
Bleeding
Hypotension
การพยาบาลก่อนทำ Hemodyalysis
ประเมินความสมดุลของน้ าและสารอิเลคโตรลัยส
วัดสัญญาณชีพ
ประเมินทางด้านจิตสังคม และปัญหาทางระบบประสาท
ดูแลการใช้ยาลดการแข็งตัวของเลือด
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง(continuous renal replacement therapy: CRRT)
• ประโยชน์ของการทำ CRRT
มีการขจัดน้ำและของเสียออกจากผู้ป่วยอย่างช้าๆและต่อเนื่อง
3.การแพร่ผ่าน(Diffusion)
6.การดูดซับ (Adsorption)
5.การกรองแบบ Ultrafiltration
การทำ CRRT ขจัดของเสียได้ช้ากว่า intermittent hemodialysis
4.การพา (Convection)
ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยจากการทำ CRRT
Disconnection วงจรของระบบอาจหลุดได้
Thrombosis และ Thromboembosis
Air embolism
Bleeding อาจเกิดจากได้ heparin มากเกินไป
ภาวะติดเชื้อ
• ข้อบ่งชี้ของการทำ CRRT
มีความผิดปกติของสารเกลือแร่ อิเล็คโทรลัยต์ และความไม่สมดุลของกรด ด่าง
ของร่างกาย
มีเลือดออกอย่างรุนแรง จากการผ่าตัด หรือมีข้อบกพร่องของDIC มีความจำเป็นต้องได้รับเลือดหรือองค์ประกอบของเลือดเป็นจ านวนมาก
สภาวะการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว เนื่องจากความผิดปกติของหัวใจและระบบหายใจ
ผู้ป่วยที่มีปัญหาความดันโลหิต และการเต้นของหัวใจไม่ปกต
ผู้ป่วยที่มีอวัยวะหลายระบบล้มเหลวและมีภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันร่วมด้วย
การพยาบาลผู้ป่วยทำCRRT
2.ระยะให้การรักษา บันทึกสัญญาณชีพ ประเมินอาการแพ้ตัวกรอง อาการหน้ามืด ใจสั่น ปวดหลัง ชาตามปลายมือปลายเท้า
ระยะสิ้นสุดการรักษา เป็นการดูแลสายสวนหลอดเลือดให้สามารถใช้งานได้ในครั้งต่อไปดูแลเหมือนกับ Hemodialysis
ระยะก่อนการรักษา การเตรียมพร้อมด้านจิตใจ การเตรียมพร้อมด้านร่างกาย การเตรียมอุปกรณ์เพื่อการรักษา
การบำบัดทดแทนไตที่ทำต่อเนื่อง 24ชั่วโมงเป็นเวลาหลายวันในหอ
ผู้ป่วยวิกฤต อยู่ในความดูแลของเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วยวิกฤต โดยมีแพทย์หรือ พยาบาลหน่วยไตเทียมให้ค าปรึกษา (อดิศว์ทัศณรงค์, 2557)
โรคของระบบอวัยวะสืบพันธ์เพศชาย
การรักษา
ควรงดดื่มของเหลวหรือแอลกอฮอล
แพทย์อาจะสั่งยาบางชนิดให้
รักษาด้วยความร้อน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
ิตกกังวลเกี่ยวกับพยาธิสภาพ การรักษาและการพยากรณ์โรค
อ่อนเพลีย ขาดความสนใจในเรื่องเพศสัมพันธ์/คู่สมรส
ไม่สุขสบายในอวัยวะอุ้งเชิงกราน เจ็บปวด
Benign prostatic hypertrophy: BPH
การตรวจวินิจฉัย
1.การตรวจทางทวารหนัก
ตรวจเลือดหาค่า BUN, C
2.การตรวจด้วยเครื่องมือส่องดูภายใน
การตรวจทางรังสี
พยาธิสรีรวิทยา
ต่อมลูกหมากโตขึ้น ท าให้ท่อปัสสาวะส่วน prostatic ยาวขึ้น
การเปลี่ยนแปลงมักเป็นที่ lateral lobe และ median lobe
ท่อปัสสาวะมีการอุดกั้น
อาการและอาการแสดง
จะมีอาการถ่ายปัสสาวะขัด
ผู้ป่วยจะปัสสาวะบ่อย
สายปัสสาวะอ่อนลง ปัสสาวะไม่พุ่ง
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดว่าอะไรเป็นต้นเหตุ
เพียงแต่
เข้าใจว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับความไม่สมดุลระหว่างฮอร์โมนแอน
การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (Renal transplantation)
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัดปลูกถ่ายไต
การพยาบาลก่อนทำ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ดูแลการได้รับสารน้ าและอิเลคโตรลัยส์
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวมีกิจกรรมในระยะแรกหลังผ่าตัด
สังเกตอาการและอาการเปลี่ยนแปลง วัดสัญญาณชีพ
การพยาบาลขณะทำ
ขณะเข้าห้องผ่าตัด ผู้ป่วยอาจวิตกกังวลกลัว
แปลกสถานที่และบุคคลพยาบาลควรอยู่ใกล้ ๆ กับผู้ป่วยพูดคุยเพื่อลดความกลัว
เตรียมผู้ป่วยผ่าตัดประเมินสภาพจิตใจของผู้ป่วย เจาะเลือดดูกลไกการทำงานของตับ
เตรียมผู้ป่วย
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดปลูกถ่ายไตก่อนกลับบ้าน
เมื่อผู้ป่วยจะกลับบ้าน ความรู้เรื่องยา การจำกัดอาหารและกิจกรรม สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะสลัดไต
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลและการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ข้อติดแข็ง
เสี่ยงต่อภาวะประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง
เหนื่อยง่าย / เซลล์ของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ซึ่งทั้งผู้บริจาคและผู้รับไตนั้นจะต้องมีการคัดเลือกตามเกณฑ์
เป็นวิธีการรักษาวิธีหนึ่งส าหรับผู้ป่วย ไตล้มเหลวเรื้อรังระยะสุดท้าย
ไตบาดเจ็บเฉียบพลันacute renal failure : ARF)(acute kidney injury : AKI)
การรักษาภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
อาหาร (Diet)
จ ากัดหรือหลีกเลี่ยงอาหารที่มี โปแตสเซียมสูง (K)
การรักษาด้วยการทำไดอะลัยสิส (Dialysis)
ผู้ป่วยระยะนี้ควรได้รับพลังงานจากอาหาร
ผู้ป่วยในภาวะนี้จ าเป็นต้องได้รับพลังงานจากอาหารจำนวนปกติ
การรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
จากสาเหตุที่ไต
• การรักษาแบบประคับประคอง (Conservative
treatment)
ภาวะความเป็นกรด (Metabolic acidosis)
ตรวจพบ HCO3 ในเลือดต่ ากว่า 10 mEq/ml แต่
ถ้าร่างกายมีภาวะความเป็นกรดรุนแรง หรือแก้ไขด้วยยา
ดังกล่าวไม่ได้ แพทย์อาจจะพิจารณาท า Dialysis
โซเดียมไบคาร์บอเนต ( NaHCO3) เมื่อ
สารน้ าและสารอิเลคโตรลัยท์ (Fluid and Elyte)
1.1 ในระยะที่มีปัสสาวะออกมาน้อยท าให้มีภาวะ K ในเลือดสูงขึ้น
ภาวะฟอสเฟตสูง (Hyperphosphatemia)
การรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจาก
สาเหตุที่ไต
ข้ออวินิจฉัยการพยาบาลในผู้ป่วยไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
ภาวะขาดสารอาหาร เนื่องจากมีการสลายตัวของโปรตีน และผลของการเบื่ออาหารคลื่นไส้และอาเจียน (จากภาวะยูรีเมีย)
ภาวะติดเชื้อ เนื่องจากร่างกายมีความต้านทานต่ำ
ภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูง และภาวะความเป็นกรด เนื่องจากไตเสื่อมหน้าที่
ภาวะความไม่สมดุลของน้ า และโซเดียม เนื่องจากไตเสื่อมหน้าที่
เกณฑ์การวินิจฉัย
เกณฑ์ Acute Kidney Injury Network (AKIN)
เกณฑ์ด้านอัตราการกรองของเสียของไต (GFR criteria)
การตรวจร่างกายตามระบบ
ทางเดินอาหาร
อาจพบปากอักเสบ
รับประทานอาหารได้น้อยคลื่นไส้อาเจียน
ท้องอืด อุจจาระร่วงหรือถ่ายอุจจาระเป็น
เลือดสด ๆ
ทรวงอกและทางเดินหายใจ กลิ่นลมหายใจ
จะมีกลิ่นยูเรีย
หัวใจและหลอดเลือด
ต่ าในระยะแรกต่อมาจะมีความดันโลหิตสูง
อาจพบความดันโลหิต
ร่วมกับภาวะ arrhythmia
ผิวหนัง ตรวจดูสีผิว
มีผื่นคัน เพราะผู้ป่วยที่มีการคั่งของ
อาการคันตามล าตัวหรือมีอาการบวม
ยูเรีย ครีเอทีนิน และของเสียอื่น ๆ มักจะมี
ระบบประสาท
สับสนซึม ชัก
หรือหมดสติได้
ทางเดินปัสสาวะ
อาจตรวจพบจ านวนปัสสาวะ
ใน 24 ชม. พบว่าน้อยกว่า 400 มล
การป้องกันภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
การประเมินหาปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วย
การให้สารน้ า เพื่อแก้ไขภาวะ pre-renal
พยาบาล ต้องประเมิน
ตรวจและบันทึกระบบหัวใจ หลอดเลือด
สภาพการรับรู้ การรู้สติของผู้ป่วย สัญญาณชีพ
การรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสาเหตุ
ก่อนไต
การใช้ยาป้องกันยากลุ่ม Dopamine กระตุ้นการไหลเวียนของ
เลือด
พยาธิสภาพไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
(acute renal failure)
Angiotensin ท าให้มีการหลั่งแอลโดสเตอโรน (Aldersterone)
เมื่อไตมีเลือดไปเลี้ยงน้อยลงจนมีการกระตุ้นระบบ
มากขึ้น ท าให้ปัสสาวะลดลง ร่างกายเสียสมดุลน้ า เกลือแร่ กรด
ด่าง และมีการคั่งของยูเรียครีเอตินีน
สามารถแบ่งการดำเนินของพยาธิสภาพได้ 4 ระยะดังนี้1. ระยะเริ่มแรก (initial phase) 2. ระยะที่มีการท าลายของเนื้อไต (maintainance)3. ระยะที่มีปัสสาวะออกมาก (Diuretic
phase)4. ระยะที่ไตเริ่มฟื้นตัว (recovery phase)
ซึ่งเพิ่มการดูดกลับของน้ าที่หลอดไตส่วนปลายมากขึ้น ร่วมกับมีการ
หลั่ง ADH ท าให้มีการดูดกลับของน้ าที่หลอดไตส่วนปลายและท่อไตรวม
สาเหตุของไตบาดเจ็บเฉียบพลันไตบาดเจ็บเฉียบพลันจำแนกตามพยาธิสภาพได้ 3 ระดับ
Post renal acute renal failureการอุดตันทางเดินปัสสาวะ (obstructive
uropathy)เช่น นิ่ว ก้อนเนื้องอก ต่อมลูกหมากโต
อาจจะมีการอุดตันบางส่วนหรืออุดตันทั้งหมด
3.Intrinsic acute failureหมายถึง โรคที่เกิดจาก
เนื้อไตเองโรคที่เกิดจากทิวบุล (ATN) มีสาเหตุจาก
เลือดมาเลี้ยงไตน้อยลง (ischemicATN)2. เกิดจากสารเคมีหรือยาที่มีผลต่อไตโดยตรง
Prerenal acute renal failureปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงไตหรือการกับซาบของเนื้อเยื่ปริมาณสารน้ าในร่างกายน้อยกว่าปกติ (hypovolemia)ไต
(renal perfusion) ลดลงความดันต่ำ (hypotension)าวะหัวใจวายเลือดคั่ง (congestive heart failure)
และโรคตับแข็ง (cirrhosis)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลในผู้ป่วยไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
ที่ได้รับการรักษาด้วย การล้างช่องท้องอย่างถาวร (CAPD)
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ / เสี่ยงต่อภาวะทุโภชนาการเนื่องจากขาดความรู้ที่ถูกต้องในการบริโภคอาหารในระหว่างการรักษาด้วยวิธีล้างช่องท้องอย่างถาวร
วิตกกังวลเกี่ยวกับการติดเชื้อในระหว่างท า CAPD
เนื่องจากความรู้เพื่อป้องกันการติดเชื้อยังไม่เพียงพอ
การรวบรวมผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดมักพบ Na, K สูงมากในเลือด ร่วมกับค่า
BUN, Cr. สูงขึ้น
การตรวจปัสสาวะ sp–qr. สูงมากกว่า
1.025
การตรวจทางรังสีวิทยากรณีที่มีปัญหาการอุด
กั้นทางเดินปัสสาวะ
ผลกระทบของไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
• ท าให้การขับ Na ,K กรดและน้ าลดลง
• มีภาวะ K ในเลือดสูง
ภาวะแทรกซ้อนทางสมอง (ซึม ชัก)
• ภาวะเลือดออกง่าย
• เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (pericarditis)
• ภาวะติดเชื้อง่าย เนื่องจากภูมิคุ้มกันต่ำ
หมายถึง ภาวะที่ไตมี การสูญเสียการท างานอย่างรวดเร็วในเวลาเป็นชั่วโมงหรือในเวลาไม่กี่วันทำให้ไตไม่สามารถขจัดของเสียออก
หน้าที่ของไต
สร้างฮอร์โมน
เม็ดเลือด (Wbc,Rbc,Plt)
Vit D ช่วยในการดูดกลับของ Ca จากล าไส้มาเก็บสะสมที่กระดูก
Renal tubule สร้าง Erythropoietin กระตุ้นไขกระดูกสร้าง
Distal tubule หลั่ง Renin Aldosterone ดูดกลับของNa, H2O
Prostaglandine ช่วยในการหด และขยายของหลอดเลือด
ขับสารต่างๆ (ยาที่รับประทานเข้าไป สารเคมี )
ปรับความสมดุลของน้ำ เกลือแร่ ความเป็นกรดด่าง
ควบคุมความดันโลหิต (Na,H2O)
ขับของเสียออกจากร่างกาย (BUN,Cr,Uric acid)
Anatomyของไต
Kidney:ไต
กระเพาะปัสสาวะ
Renal pelvis:กรวยไต
Urethra:ท่อปัสสาวะ
Urinary Bladder:
Ureter:ท่อไต
13.1 Uro : Infection
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
Urinary Tract Infection (UTI)
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิด UTI มากยิ่งขึ้น
อายุ
1.นิ่วหรือการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
2.Vesico-ureteral reflux (VUR)
Incomplete emptying of bladder
Catheterization
พฤติกรรม
เบาหวาน
การสูบบุหรี่
เชื้อแบคทีเรียสามารถเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะได้ 3 ทางคือ
2.เชื้อโรคกระจายตัวมาทางกระแสเลือด (hematogenous route)
3.เชื้อโรคกระจายมาทางกระแสน้ำเหลือง (lymphatic route)
1.การติดเชื้อย้อนกลับขึ้นไปจากท่อปัสสาวะ (ascending infection)
แนวทางการรักษาการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
•ยาแก้ปวด ยาลดไข้
•ยาบรรเทาอาการอาการคลื่นไส้อาเจียน
•การตรวจติดตามผลการตรวจปัสสาวะซ้ าเพื่อประเมินว่ายาที่ไห้ได้ผลหรือไม่
•คือ การให้ยาปฏิชีวนะโดยชนิด ขนาดยา และระยะเวลาที่ใช้ยาขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการ เชื้อที่เป็นสาเหตุซึงควรให้ยาตาม bacteria sensitive
•การให้สารน้ าอย่างเพียงพอ
การพยาบาล
1.บรรเทาความเจ็บปวดและดูแลความไม่สุขสบายของผู้ป่วย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้ดื่มน้ าและรับประทานอาหารพอเพียง
ติดตามประเมินผลการรักษาและหน้าที่ของไต
ป้องกันและประเมินภาวะช็อกจากการติดเชื้อ
ดูแลทางด้านจิตใจ
คำแนะนำที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อซ้ำ
•หลีกเลี่ยงการใช้ bubble bath หรือสารเคมีที่ใช้เติมลงในอ่างอาบน้ า
•ให้ดื่มน้ำมากๆ
•หลีกเลี่ยงการใช้ผ้าอ้อม
•หลีกเลี่ยงการใช้ diaphragm
•หลีกเลี่ยงยาฆ่าเชื้ออสุจิ
•ปัสสาวะทุก 2-3 ชั่วโมง ปัสสาวะก่อนนอนและหลังมีเพศสัมพันธ์
อาการและอาการแสดงของ UTI
Upper UTI
มีอาการเจ็บชายโครง ร่วมกับมีไข้หรือไม่ก็ได้
Lower UTI
ผู้ป่วยจะมีอาการปัสสาวะบ่อย แสบขัด หรือมีปัสสาวะเป็นเลือด
•ขึ้นกับต าแหน่งของการติดเชื้อเป็นสำคัญ
•แบ่งอาการออกตามตำแหน่งที่มีการติดเชื้อเป็น upper และ lowertract UTI
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะแบบซับซ้อน (complicated UTI)
คือการติดเชื้อในผู้ป่วยที่อ่อนแอ หรือ มีโครงสร้างและหน้าที่ของระบบทางเดินปัสสาวะผิดปกติ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแบบไม่ซับซ้อน
(uncomplicated UTI)
คือ การติดเชื้อในผู้ป่วยที่มีสุขภาพแข็งแรงโดยมีหน้าที่หรือโครงสร้างของระบบทางเดินปัสสาวะปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
•ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จะมีโอกาสเกิดขึ้นน้อยมาก ถ้าได้รับการรักษาทันทีและเหมาะสม แต่ถ้ารักษาล่าช้าจะมีความรุนแรงของโรคมากขึ้น
cystitis
อาการและอาการแสดง
อาการแสดง
มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ไม่สุขสบายบริเวณช่องท้อง, เชิงกราน
มีอาการไข้สูง อ่อนล้า
อาจส่งผลให้มีการอักเสบของกรวยไตด้วย
• ปวดบริเวณหัวเหน่า
• ปัสสาวะบ่อยและบางครั้งกลั้นปัสสาวะไม่ได้
• เจ็บปวดขณะถ่ายปัสสาวะ (burning)
• อยากถ่ายปัสสาวะบ่อย (urgency)
• ปัสสาวะขุ่น หรือสีโคล่าหรือสีแดง
การพยาบาล
งดเว้นเครื่องดื่มที่มี caffeine , แอลกอฮอล์
ทั้งนี้เพราะระคายเคืองกระเพาะปัสสาวะ
มาพบแพทย์ตามนัด
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ให้ถูกวิธีโดยเฉพาะเพศหญิง เช็ดจากบนลงล่าง
ให้ยาแก้ปวด (analgesic) พวกPyridium (phenazo pyridine) เพื่อลดปัสสาวะ
ให้ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ในรายที่มีไข้ ดูแลให้ยาลดไข้ เช็ดตัวลดไข้และ
ประเมินสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่อง
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ให้ถูกวิธี
โดยเฉพาะเพศหญิง เช็ดจากบนลงล่าง
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การประคบด้วยความร้อนบริเวณล าตัวด้านบน
หลัง อาจช่วยให้สุขสบายลดความเจ็บปวดได
พยาธิสรีรวิทยากระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
หากไม่ได้รับการรักษาจะกลายเป็นการอักเสบเรื้อรัง
มีการลุกลามไปกล้ามเนื้อรอบๆ
เนื้อเยื่อจะบวมแดงทั่วไปหรือเป็นหย่อมๆบางแห่งอาจมี
เลือดออก
เมื่อมีการติดเชื้อเกิดขึ้น จะมีการอักเสบของกระเพาะ
ปัสสาวะชั้นmucosa และ submucosa เท่านั้น
การติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะ (cystitis)
• แบคทีเรีย แกรมลบ Neisseria gonorrhea
• การคาสายสวนปัสสาวะ
• กายวิภาคของท่อทางเดินปัสสาวะของเพศหญิงที่ทำให้มีอัตราการติดเชื้อที่สูงกว่าเพศชาย
• การฉายรังสี (radiation)
• แบคทีเรีย แกรมลบ Tricomonas vaginaris
• เชื้อ แบคทีเรีย E. Coli ร้อยละ 80
• การมีเพศสัมพันธุ์ ซึ่งเป็นถ่ายทอดเชื้อโรคสู่เพศตรงข้าม (exposure)
คือ การอักเสบของผนังกระเพาะปัสสาวะ (inflammatory) มักมีสาเหตุจากการติดเชื้อที่เกิดขึ้นบริเวณผนังของกระเพาะปัสสาวะ
• แบคทีเรีย แกรมลบ Staphylococi
• จากเชื้อรา (Fungal)
• การมีก้อนนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อนกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
• กรวยไตอักเสบ
• ต่อมลูกหมากอักเสบ
• นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
การประเมินภาวะสุขภาพ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ พบ WBC ,RBC
13.1 Uro : Non infection
นิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุของการเกิดนิ่ว
1.สาเหตุความผิดปกติที่เกี่ยวกับภายในตัวผู้ป่วยเอง
1.9 ยาบางอย่าง
1.1 พันธุกรรม
1.8 สิ่งแปลกปลอมที่หลุดเข้าไปในทางเดินปัสสาวะ
1.3 ความผิดปกติในการท างานของต่อม พาราไทรอยด์ ซึ่งหลั่งฮอร์โมนที่ควบคุมสารแคลเซียมออกมามากกว่าปกติ
1.4 มีการตีบแคบของระบบทางเดินปัสสาวะ
1.5 ความเข้มข้นของน้ำปัสสาวะ
1.2 อายุและเพศ
1.7 การอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
1.6 ความเป็นกรด - ด่างของน้ำปัสสาวะ
2.สาเหตุที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของผู้ป่วย
2.4 สภาพโภชนาการ
2.1 สภาพภูมิศาสตร์ เช่น ภาคเหนือ และภาคอิสาน
2.2 สภาพอากาศและฤดูกาล
2.5 อาชีพ
2.3 ปริมาณน้ำดื่ม
สาเหตุเกี่ยวกับลักษณะของน้ำปัสสาวะ
ถ้าเมื่อไหร่เกิดความไม่สมดุล ของสารตกผลึกกับสาร
คอลลอยด์ จะมีการรวมตัวตกผลึกเป็นนิ่ว
ปกติน้ำปัสสาวะมีส่วนประกอบของ เกลือ ฟอสเฟตหรือ
คาร์บอเนตของแคลเซี่ยม แมกนีเซียม หรือแอมโมเนีย
ชนิดของนิ่ว
1) แคลเซียมออกซาเลท (calcium oxalate)
3) แมกนีเซียม แอมโมเนียมฟอสเฟต (magnesium ammonium phosphate)
2) แคลเซียมฟอสเฟต (calcium phosphate)
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ (vesical calculi, VC)
หลักการดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน
หลังการรักษานิ่วโดยการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะจากเศษนิ่ว
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
การตกเลือด
หลักการดูแลที่สำคัญ ดังนี้
ดูแลและป้องกันภาวะตกเลือดหลังผ่าตัด
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยฟื้นฟูสภาพโดยเร็ว (early ambulation)
2.อธิบายและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษา pre-post op
การดูแลเกี่ยวกับบาดแผล
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ ามาก ๆ อย่างน้อย 3,000 ซีซีต่อวันถ้าไม่มีข้อจำกัดเพื่อชะล้างเศษนิ่วที่ค้างออกมาด้วย
การลดความเจ็บปวดหลังผ่าตัดและอาการปวดจากการมีปัสสาวะคั่งค้างควรหาสาเหตุและแก้ไข
บันทึกจำนวนสารน้ำที่ได้รับและที่ขับออกจากร่างกายในแต่ละวัน
รายงานแพทย์ถ้ามีเลือดออกมากและมีลิ่มเลือดอุดตันในทางเดินปัสสาวะหรือสายยางระบายปัสสาวะ
การเตรียมผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการระบายปัสสาวะทางสายยางต่าง ๆ
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการสลายนิ่ว (ESWL)
• ประโยชน์ของเครื่องสลายนิ่ว
สามารถกำจัดนิ่วในไต โดยไม่ต้องผ่าตัดและไม่มีรอยแผลเป็น
ผู้ป่วยจะไม่เจ็บปวดเหมือนการผ่าตัดทั่วไป จึงไม่ต้องดมยาสลบ
ใช้สลายนิ่วขนาดไม่เกิน 2 เซนติเมตร
• ข้อจำกัดในการสลายนิ่ว...
นิ่วไม่ควรมีขนาดโตเกินไป โดยรวมแล้วนิ่วในไตไม่ควรโตเกิน 2.5 ซ.ม. นิ่วในท่อไตไม่ควรโตเกิน 1-1.5 ซ.ม.
ไตด้านที่มีนิ่ว และต้องการสลายนิ่วนั้น ควรจะยังทำงานได้เป็นปกติ
นิ่วเขากวาง (staghorn) เพราะนิ่วชนิดนี้ใหญ่มาก ต้องทำการสลายหลายครั้งซึ่งจะทำให้ไตช้ำได้
นิ่วที่กรวยไตที่ติดแน่นกับผนัง
นิ่วไม่ควรเป็นชนิดแคลเซียมออกซาเลตโนโนไฮเดรต หรือนิ่วซีสตีนเพราะไม่ตอบสนองกับการรักษา
นิ่วที่มีการอุดตันของท่อไตร่วมด้วย
ผู้ป่วยที่มีรูปร่างใหญ่ น้ำหนักมากและอ้วน
นิ่วที่มีการอักเสบร่วมด้วย เช่น มีไข้ปัสสาวะเป็นหนอง ฯลฯ เพราะเมื่อนิ่วกระจาย จะทำให้มีการติดเชื้อในกระแสเลือดได้
นิ่วในท่อไตส่วนกลาง หรือส่วนที่กระดูกบัง
ไม่มีการอุดตันของทางเดินปัสสาวะในส่วนที่อยู่ต่ำกว่าก้อนนิ่ว
• การเตรียมตัวก่อนเข้ารับการตรวจ
งดน้ำ งดอาหาร กาแฟ ชา ช็อคโกแลต น้ำอัดลมบุหรี่และเครื่องดื่มคาเฟอีนก่อนเข้ารับการตรวจอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
คัดกรองคนไข้โดยแพทย์
• ข้อห้ามในการสลายนิ่ว
ผู้ป่วยที่กำลังตั้งครรภ์
ผู้ป่วยที่มีเส้นเลือดแดงในช่องท้องโป่งพอง
อาการภายหลังทำการสลายนิ่ว
อาการไข้
อาการปวด อาจมีอาการปวดตื้อๆ คล้ายเมื่อยังมีนิ่วอยู่ ถึงแม้จะได้รับการฉีดยาแก้ปวดไปแล้วก็ตาม
บางรายอาจมีคลื่นไส้ อาเจียน
สลายนิ่วแล้วนิ่วที่แตกเป็นก้อนเล็กๆ จะออกมาปนกับน ้าปัสสาวะซึ่งอาจมีเลือดปนออกมาด้วย ปัสสาวะจะเป็นลักษณะนี้อยู่ประมาณ 2-3 วัน หลังทำ
การตรวจวินิจฉัย
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจเลือดมี 2 วิธี
• ตรวจพบระดับแมกนีเซียมฟอสเฟต
• KUB (Kidney, Ureters, Bladder) ดูว่านิ่วอยู่บริเวณใด
• IVP (Intraveneous pyelography)
• ตรวจหาพาราไทรอยด์ฮอร์โมน
อาการและอาการแสดงนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
• ผู้ป่วยมีอาการถ่ายปัสสาวะล าบาก
• บางรายมีอาการปัสสาวะหยุดไหลอย่างกระทันหันขณะที่กำลังถ่ายอุดกั้นตำแหน่งนี้มีผลรบกวนการทำงานของไตได้ทั้ง 2 ข้าง
• พบปัสสาวะสีเหลืองเข้มปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขุ่น มีแบคทีเรีย หนองและตกตะกอนแขวนลอย (Crystals)
• ปวดเอวหรือปวดหลัง ปวดท้อง
• เมื่อก้อนนิ่วเลื่อนมาอุดที่ทางออกของกระเพาะปัสสาวะ การ
การรักษา
การเจาะผ่านผิวหนังเข้าสู่ไตเปิดแผลเล็ก ๆ บริเวณสีข้าง ใส่ท่อเล็กๆ ที่ติดกล้องส่องผ่านเข้าไปเพื่อขบนิ่วให้แตก
การสลายนิ่ว อาศัยคลื่นเสียงความถี่สูงวิ่งผ่านน้ำเล็งเข้าที่
นิ่วคลื่นจะกระทบนิ่วแตกละเอียด และเศษนิ่วหลุดออกมาทางปัสสาวะ (extracorporeal shock wave lithotripsy, ESWL)
ส่วนมากเกิดการอุดกั้นที่คอปัสสาวะ (bladder neck)
มักเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะร่วมกับการติดเชื้อ
การรักษาด้านอายุรศาสตร์
บรรเทาอาการปวด ประคับประคองโดยให้ยาแก้ปวด ในรายที่ปวดมาก
แนะนำผู้ป่วยให้มีการออกก าลังกายตามควาเหมาะสม
งดอาหารที่ส่งเสริมให้เกิดนิ่ว ซึ่งขึ้นกับชนิดของนิ่ว พร้อมทั้งแนะนำให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจ
เป็นวิธีที่ใช้ในระยะเฝ้ารอเพื่อให้ก้อนนิ่วหลุดออกมาเองในกรณีที่ก้อนนิ่วมีขนาดเล็ก
อธิบายให้ผู้ป่วยเห็นความจ าเป็นที่ต้องรับประทานยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษา
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงความจ าเป็นที่ต้องสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนวันนัด
กระตุ้นให้ดื่มน้ำให้เพียงพอประมาณ 3,000 ซีซีต่อวัน ในกรณีที่ไม่มีข้อห้าม
แนะนำถึงวิธีการใช้ยาบางประเภท
เมื่อกลับไปอยู่บ้านแนะนผู้ป่วยไม่ควรทำงานหนักหรือยกของหนักอย่างน้อย 6 สัปดาห์
นิ่วในหลอดไต (ureteric calculi, UC)
ตำแหน่งที่เกิดการอุดกั้น ที่สำคัญ 3 ตำแหน่ง
รูเปิดของท่อไตเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ(ureterovesical junction)
ตรงรอยต่อของกรวยไตกับท่อไต (ureteropelvic junction)
บริเวณที่ท่อไตพาดผ่านเส้นเลือดไอลิแอค (pelvic brim)
ชนิดของการอุดกั้น
จำแนกตามตำแหน่งที่เกิด
2.2 การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
2.1 การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนบน
แบ่งตามลักษณะการอุดกั้น
1.2 Complete obstruction อุดกั้นอย่าง
สมบูรณ์ น้ำปัสสาวะไม่สามารถไหลผ่านลงไปได้ การอุดกั้นลักษณะนี้จะเสียหน้าที่อย่างรวดเร็ว
1.1 Partial obstruction อุดกั้นเพียงบางส่วน
น้ าปัสสาวะไหลผ่านไปได้บ้าง พบมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างมากกว่าหน้าที่
หลักการรักษา
ระบายน้ำปัสสาวะเหนือตำแหน่งที่มีการอุดกั้น เพื่อลดการคั่งค้างของน้ำปัสสาวะ และแก้ไขภาวะอุดกั้น
แก้ไขปัญหาปัสสาวะคั่งเฉียบพลัน โดยที่แก้ไขที่สาเหตุนั้นๆ
ขจัดการติดเชื้อ
นิ่วในไต
(renal calculi, RC)
อาการและอาการแสดง
• ในรายที่เป็นเรื้อรัง มักมีไตบวมน้ำ (hydronephrosis)ก็อาจคลำพบก้อนได้
• ปัสสาวะเป็นเลือด
• การตรวจร่างกายมักจะกดเจ็บบริเวณไตข้างนั้น
ถ้ามีการอุดกั้นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ผู้ป่วยจะมีอาการปวดมาก
จนดิ้น (colicky pain)
ปวดที่สีข้างหรือด้านหลังอาจปวดร้าวลงมาที่อวัยวะสืบพันธุ์หรือหน้าขา
• ถ้านิ่วก้อนใหญ่หรือเป็นแบบชนิดกิ่ง
(staghorn calculus)
• มักพบในผู้ใหญ่
• นิ่วที่เกิดขึ้นนั้นหากยังมีขนาดเล็ก ประมาณ 4 – 5 มม.จะเคลื่อนที่ตามแรงบีบตัวไล่ปัสสาวะจากไตผ่านท่อไต และลงสู่กระเพาะปัสสาวะได
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (Bladder cancer)
การรักษาโรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนช่องทางขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลผิวหนังรอบๆ สโตมา ผิวหนังรอบ
โตมาอาจระคายเคืองจากการสัมผัสน้ำปัสสาวะที่มีฤทธิ์เป็นด่าง
การทำกิจกรรมและการออกกำลังกาย
5.1 เลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการรองรับน้ำปัสสาวะที่
ออกจากสโตมา
5.2 ลอกถุงรองรับปัสสาวะเดิมออกทิ้งด้วยความนุ่มนวล
การสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์
5.5 ล้างถุงรองรับน้ำปัสสาวะเดิมเพื่อเตรียมไว้ใช้ในครั้ง
ต่อไป ด้วยน้ำสบู่อุ่นๆ แล้วแช่ในน้ำส้มสายชูกลั่น
การทำงาน
การเดินทางไกล การมีสโตมาที่หน้าท้องไม่ได้เป็น
อุปสรรคต่อการเดินทางไกล
การสวมใส่เสื้อผ้า ผู้ป่วยสามารถสวมเสื้อผ้าได้ตามปกติ
แต่ควรหลีกเลี่ยงการกดทับบริเวณ
5.4 เมื่อพร้อมที่จะครอบถุงหรือแป้น
การมีเพศสัมพันธ์
การดูแลด้านจิตใจ
5.3 ทาผิวหนังรอบๆ สโตมาบริเวณที่แป้นจะติดครอบ
การสังเกตสีและลักษณะของน้ำปัสสาวะ
2.รับประทานอาหารที่ส่งเสริมให้ปัสสาวะเป็นกรด
เช่น น้ำกระเจี๊ยบแดง ควรรับประทานอาหารที่มี
โซเดียม และโปแตสเซียมสูง
การดูแลผู้ป่วยที่มีสโตมาเปิดทางหน้าท้องประเมิน
ตำแหน่งและลักษณะของสโตมา
การดูแลผู้ป่วยผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะใหม่โดยวิธี
neobladder ฝึกการคลายกล้ามเนื้อหูรูด (sphincter) และเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้องช่วย
การรักษาโดยการผ่าตัด
การผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะออกบางส่วน (Partial
cystectomy หรือ Segmental cystectomy)
การผ่าตัดทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary
diversion)
Indiana pouch
Ileal conduit
Neobladder
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องผ่านทางท่อปัสสาวะเพื่อตัดชิ้นเนื้องอกของกระเพาะปัสสาวะออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ (Transurethral resection of bladder tumor – TURBT)
อาการและอาการแสดง
ในระยะแรก มักไม่มีอาการแสดง อาการที่พบได้ในผู้ป่วย
โรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ คือ
•ปัสสาวะเป็นเลือด
•บางครั้งอาจมีอาการคล้ายกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ในระยะลุกลาม
ผู้ป่วยมักมีอาการปวดท้องน้อยเรื้อรัง
คลำต่อมน้ำเหลืองได้ที่ขาหนีบหรือเหนือไหปลาร้า เมื่อ
โรคแพร่กระจายไปที่ต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะเกิดจากความผิดปกติของเซลล์บุกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ชนิดตามชนิดของเซลล์
Transitional Cell Cancer (TCC)
Adenocarcinoma
Squamous Cell Carcinoma (SCC)
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
การดูแลทางจิตใจ
การเตรียมความสะอาดของลำไส้
สาเหตุ
• ชายผิวขาวสูงอายุ, ติดเชื้อพยาธิบางชนิด
• ปัจจัยเสี่ยง คือ การสูบบุหรี่, เป็นนิ่วเรื้อรัง, สัมผัสสารเคมีนานๆ, กินเนื้อปิ้งย่าง, อาหารไขมันสูง,
การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ (Bladder irrigation)
ใช้กระบอกสวนล้าง (Syringe irrigate)
13.2 Nephro: Infection
ไตอักเสบเฉียบพลัน
(Acute GlomeruloNephritis)
อาการแทรกซ้อน
ภาวะปอดบวมน้ า (pulmonary edema) ฟังปอดมีเสียงกรอบแกรบ (crepitation)
อาจท าให้เกิดภาวะไตวาย ร้ายแรงถึงตายได
อาการหอบเหนื่อยและเกิดภาวะหัวใจวาย
อาจมีความดันโลหิตสูงมาก ๆ จนเกิดอาการทางสมอง เช่น ชัก ไม่ค่อยรู้สึกตัว
อาการและอาการแสดง
ความดันโลหิตสูง
3.อาการบวม
6.อาการไข้สูง หัวใจโต น้ าในช่องเยื่อหุ้มปอดสิ่งตรวจพบ
4.ปัสสาวะน้อย (Oliguria) และปัสสาวะผิดปกติ
5.เลือดผิดปกติ มียูเรีย ไนโตรเจนในเลือดสูง และโปรตีนในเลือด
1.ปัสสาวะเป็นเลือด
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ยา ATB ตามแผนการรักษา
ดูให้งดอาหารเค็ม Na, K สูง เนื่องจากไตมีการอักเสบ
มีอาการบวมกดบุ๋ม lab Albumin ต่ า ให้ 20% albumin
ความดันโลหิตสูง ดูแลให้ bed rest และให้ยาลดความดันตามแผนการรักษาของแพทย์
มีไข้ ให้ยาลดไข้ เช็ดตัวลดไข้
หายใจหอบเนื่องจากมีภาวะน้ำเกิน ดูแลให้ออกซิเจน
ปัสสาวะออกน้อย ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
Antibiotic ที่นิยมใช้
หากปัสสาวะเป็นหนอง Pyuria
Tetracycline, Doxycyclin,
ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ได้แก่
Netilmycin
Norflox, Olfloxacin
Gentamycin , Amikin
ยาบรรเทาอาการปวด, แสบขัด
ให้ยาลดเกร็งการหดตัวของกระเพาะปัสสาวะ
Antipasmodic drugs เช่น Urispas
สาเหตุ
โรคนี้มักเกิดตามหลังการติดเชื้อแบคทีเรีย กลุ่ม Betastreptococcus group A เช่น ต่อมทอนซิลอักเสบ ผิวหนังักเสบ ไฟลามทุ่ง พุพองตามผิวหนังประมาณ 1-4 สัปดาห์(เฉลี่ย 10-14 วัน) โดยทำให้เกิดปฏิกิริยาขึ้นที่หน่วยไต ทำให้หน่วยไตเกิดการอักเสบไปทั่ว นอกจากนี้ยังอาจเกิดร่วมกับโรคเอ
สเอลอี , ซิฟิลิส , การแพ้สารเคมี (เช่น ตะกั่ว) เป็นต้น
กรวยไตอักเสบ (pyelonephritis : PLN)
กรวยไตอักเสบ (Chronic pyelonephritis)
ภาวะแทรกซ้อน
ความดันโลหิตสูง
ภาวะยูรีเมีย (Uremia)
การรักษา chronic pyelonephritis
การให้ยาปฏิชีวนะ
หากการท าลายเนื้อไต (renal parenchyma) มีความ
ผิดปกติมาก
มักเกิดจากการไหลย้อนกลับของปัสสาวะจากกระเพาะ
ปัสสาวะสู่ท่อไต
กรวยไตอักเสบ (pyelonephritis : PLN)
การรักษา Acute pyelonephritis
• การให้ยาจ าพวกต้านการหดเกร็งของกระเพาะปัสสาวะ
• ให้รับประทานอาหารมีประโยชน์
• พักผ่อนอย่างเพียงพอ
• ยาปฏิชีวนะควรให้ยาตาม bacteria sensitive
อาการและอาการแสดง
อาจมีไข้ต่ำๆ เป็น ๆ หาย ๆ
การพยาบาล
• ดื่มน้ำให้มากอย่างน้อยวันละประมาณ 3000 ml/day
• การนอนหลับ
• ติดตามผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute pyelonephritis)
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดสีข้าง
บริเวณ costovertebral agel (flank) และบริเวณหัวเหน่า พบได้บ่อยร่วมกับการตั้งครรภ์และเบาหวาน
Pyelonephritis สาเหตุมักเกิดจาก
bacteria gram – negative และเริ่มมาจากlower tract. แบคทีเรีย เช่น E.Coli, เครบเซลล่า (klebsiella pneumoniae) Proteusmirabilis, Psudomonas aeruginosa,streptococous