Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรค - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรค
ระบบภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นมาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
2 ระบบภูมิคุ้มกันที่ป้องกันร่างกายอย่างเจาะจง (adaptive immunity)
1 ระบบภูมิคุ้มกันทั่วๆไป (innate immunity)
โรคภูมิแพ้ (Allergic Reaction)
โรคภูมิแพ้จะสามารถแบ่งตามอวัยวะที่เกิดโรคได้เป็น 4 โรค
-โรคโพรงจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ หรือเรียกว่า โรคแพ้อากาศ ซึ่งเป็นโรคภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นบริเวณโพรงจมูก
-โรคหอบหืด ซึ่งเป็นโรคภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นบริเวณหลอดลม
-โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง ซึ่งเป็นโรคภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นบริเวณผิวหนัง
-โรคตาอักเสบจากภูมิแพ้ ซึ่งเป็นโรคภูมิแพ้ที่เกิดบริเวณดวงตา
โรคภูมิแพ้ชนิดรุนแรง (Anaphylaxis)
อาการและอาการแสดง
1 อาการและอาการแสดงตามระบบต่างๆ
ทางผิวหนัง มีผื่นลมพิษ ผื่นแดงทั่วทั้งตัว หลอดเลือดที่ผิวหนังขยายตัว
ระบบหัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดขยาย ความดันโลหิตต่ า มีภาวะช็อก มีการสูญเสียสาร
น้ำ
ระบบหายใจ มีอาการไอหลอดลมตีบ เสมหะ อุดตัน มีการบวมของทางเดินหายใจจนอุดกั้น
ทางเดินหายใจได้
ระบบทางเดินอาหาร มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ถ่ายเหลวได
2 ความรุนแรงของภาวะ Anaphylaxis แบ่งออกเป็น 4 ระดับ
ระดับที่ 1 มีอาการที่ระดับผิวหนัง มีผื่นลมพิษ ผื่นแดงที่ผิวหนัง
ระดับที่ 2 มีอาการที่อวัยวะหลายระบบ คือ ทางผิวหนังร่วมกับระบบอื่นเช่น ความดันโลหิตต่ำ หัวใจเต้นผิดจังหวะ หายใจหอบเหนื่อย มีอาการทาง ระบบทางเดินอาหาร
ระดับที่ 3 มีอาการระดับที่เสี่ยงจนถึงชีวิตได้เช่น ความดันโลหิตตกรุนแรง หัวใจเต้นผิดจังหวะ
รุนแรง หลอดลมตีบ
ระดับที่ 4 หัวใจหยุดเต้นหรือหยุดหายใจ
ผื่นแพ้ผิวหนังจากการอักเสบจากการสัมผัส (Contact dermatitis)
คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวจากการอักเสบจากการสัมผัส (Contact dermatitis)
1) การใช้ยา โดยส่วนใหญ่จะเป็นยา corticosteroids ชนิดทา บางรายหากมีอาการรุนแรง อาจใช้เป็นยา
รับประทาน หรือให้ทางหลอดเลือดดำ
2) ไม่ควรเกาบริเวณที่คัน เพราะจะทำให้ผิวหนังมีการอักเสบเพิ่มขึ้นและอาจติดเชื้อได้
3) หลีกเลี่ยงการใช้น้ าอุ่น หรือ น้ำร้อน บริเวณผิวหนังที่มีการอักเสบ ควรอาบน้ าอุณหภูมิห้อง หากเกิดการอักเสบในบริเวณที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เช่น ลำตัว เป็นต้น
4) การหลีกเลี่ยงสารที่ก่อให้เกิดการแพ้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์(HIV/AIDS)
อาการและอาการแสดง
ระยะแรกเริ่มของการติดเชื้อเอชไอวี (primary HIV infection หรือ cute retroviral syndrome) ระยะนี้นับตั้งแต่เริ่มติดเชื้อเอชไอวี จนกระทั่งร่างกายเริ่มสร้างแอนติบอดี กินเวลาประมาณ 1-6 สัปดาห์หลังติดเชื้อ ผู้ปุวยจะมีอาการไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นขึ้น ต่อมน้ำเหลืองโต
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ผู้ติดเชื้อจะแข็งแรงเป็นปกติเหมือนคนทั่วไป แต่การตรวจเลือด
จะพบเชื้อเอชไอวี และแอนติบอดีต่อเชื้อชนิดนี้ และสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้
ระยะติดเชื้อที่มีอาการ ระยะนี้แต่ก่อนเรียกว่าระยะที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ (AIDS related complex หรือ ARC) มักจะมีอาการคล้ายโรคอื่นๆ จนไม่แน่ใจว่าเป็นเอดส์ อาจพบอาการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ในระยะไม่ต่ ากว่า 3 เดือน เช่น มีไข้เกิน 37.8 องศาเซลเซียสเป็นพักๆ หรือติดต่อกันทุกวัน
ระยะป่วยเป็นเอดส์ ระยะนี้ระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วยเสื่อมเต็มที่ เป็นผลทำให้เชื้อโรคต่างๆ เช่น เชื้อรา ไวรัส แบคทีเรีย โปรโตซัว วัณโรคฉวยโอกาสท าให้เกิดการติดเชื้อ เมื่อเกิดการติดเชื้อจะเรียกว่า "โรคติดเชื้อฉวยโอกาส"
ภาวะภูมิคุ้มกันต่อต้านเนื้อเยื่อตนเอง หรือ
ภาวะภูมิแพ้ตนเอง (Autoimmune)
การพยาบาลผู้ป่วยที่เป็นโรคเอสแอลอี
Systemic Lupus Erythematosus (SLE) หรือ Lupus Erythematosus หมายถึง โรคต้านทานเนื้อเยื่อตนเองชนิดหนึ่งที่มีการด าเนินโรคแบบเรื้อรัง ส่งผลให้มีความผิดปกติของการท างานของอวัยวะหลายระบบพร้อมๆกัน (Multisystem autoimmune system) เนื่องจากความผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกันของผู้ปุวยที่ท าให้เกิดการอักเสบอย่างเรื้อรังต่อเนื้อเยื่อ
อาการและอาการแสดง
อาการทั่วไป
มีอาการอ่อนเพลีย มีไข้ อาจเป็นไข้สูงหรือไข้ต่ำๆ ได้ น้ำหนักตัวลดลง ปวดศีรษะ และปวดกล้ามเนื้อรวมถึงกระดูกและข้อ มีผื่นแดงขึ้นตามบริเวณของร่างกาย อาจมีความดันโลหิตต่ำ (พบได้ในในช่วงที่มีการแสดงอาการของโรค)
ผิวหนัง (Skin)
ผู้ปุวยส่วนใหญ่จะมีผื่นแดง คันหรือแสบ และจะมีอาการมากเมื่อมีการสัมผัสกับแสงแดด (photosensitivity) อาการที่พบบ่อยคือมีผื่นแดงและเป็นรูปคล้ายผีเสื้อครอบคลุมบริเวณดั้งจมูกและแก้ม 2 ข้าง
กระดูกและกล้ามเนื้อ
(Musculoskeletal)
อาการที่พบบ่อยคือข้ออักเสบ (arthritis) โดยผู้ปุวยอาจมีอาการข้อติด (morning stiffness) ปวดข้อ (joint pain) ข้อบวม (swelling) และ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ไต (Renal)
ผู้ป่วยจะไม่แสดงอาการจนกว่าโรคจะลุกลามไปที่ไตแล้วทำให้เกิด nephritic syndrome หรือ renal failure
หัวใจและหลอดเลือด
(Cardiovascular)
อาการที่สำคัญคือเจ็บหน้าอก หายใจลeบาก ซึ่งอาจเกิดจากเยื่อหุ้มหัวใจ อักเสบ (pericarditis) กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (myocarditis) เยื่อบุหัวใจอักเสบ (endocarditis) และโรคหลอดเลือดแดงแข็ง (accelerated atherosclerosis)
ทางเดินอาหาร
(Gastrointestinal)
อาการที่อาจเกิดขึ้นได้คือเยื่อบุซองท้องอักเสบ (Peritonitis) ภาวะเบื่ออาหาร (anorexia) คลื่นไส้ (nausea) อาเจียน (vomiting)