Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Postpartum depression, อ้างอิง - Coggle Diagram
Postpartum depression
-
โจทย์สถานการณ์ >> มารดาหลังคลอด อายุ 17 ปี G1P1A0 L1 คลอด NL with Left Episiotomy หลังคลอดบุตร 3 สัปดาห์ รู้สึกท้อแท้ หมดหวัง หดหู่ ญาติให้ประวัติว่า รับประทานอาหารน้อยลง พูดช้าลง ร้องไห้บ่อยๆ ไม่ค่อยสนใจตนเอง ไม่ให้ลูกดูดนม ญาติจึงพามาโรงพยาบาล
-
-
-
-
พยาธิสภาพของโรค :star:
ขณะต้ังครรภ์ฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนจากรกมีระดับสูงมาก ทำให้สารสื่อประสาทซีโรโทนิน (Serotonin) เพิ่มสูงขึ้น ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนลดลงทันทีหลังคลอดอย่างรวดเร็ว ทำให้ระดับซีโรโทนินลดต่ำลงด้วย เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะซึมเศร้าได้
ความหมาย :pen:
เป็นความผิดปกติทางด้านจิตใจ อารมณ์ และมีการรับรู้ลดลง มักเกิดขึ้นภายใน 4 สัปดาห์หลังคลอด และมีอาการนานกว่า 2 สัปดาห์
การรักษา :check:
- ใช้ยา เช่น Isocarboxazine, Pheneizine เป็นต้น
- รักษาทางจิตแบบรายบุคคล หรือรายกลุ่ม การใช้กลุ่มช่วยรักษาหรือให้คู่สมรสบุคคลใน
ครอบครัวมีส่วนร่วม
- ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะซึมศร้า สนับสนุนและสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองแก่หญิงหลังคลอด
สาเหตุ :question:
ปัจจัยด้านร่างกาย
-
-
ฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลงอย่างรวดเร็วภายหลังการคลอดทำให้ระดับของฮอร์โมนซีโรโทนินลดต่ำลงด้วย ส่งผลให้เกิดการเบื่อหน่าย
-
-
อาการ :explode:
ด้านจิตใจ มีอารมณ์และความรู้สึกท้อแท้สิ้นหวังมองโลกในแง่ร้ายหดหู่หม่นหมองวิตกกังวลรู้สึกไร้ค่าไม่มีความหมายไม่มีคนต้องการ
ด้านร่างกาย ซึมเศร้าอย่างรุนแรงร้องให้นอนไม่หลับเบื่ออาหารไม่มีสมาธิไม่สนใจตนเองไม่มีความรู้สึกทางเพศควบคุมตนเองไม่ได้ถ้ารุนแรงจะคิดช้าพูดช้าไม่มีความรู้สึกเป็นเจ้าของซึ่งอาจทำร้ายทารกของตนเอง
การพยาบาล :<3:
“NURSE Program”
-
U = understanding
อธิบายให้มารดาหลังคลอดเข้าใจถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ในการกลับสู่สภาพเดิม ควรให้คำแนะนำมารดาหลังคลอดและครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอด การดูแลทารก และการป้องกันการ เกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
R = rest and relaxation
ดูแลให้มารดา หลังคลอดพักผ่อนให้เพียงพอเพราะการพักผ่อน เป็นสิ่งที่สำคัญ ในระยะหลังคลอดสตรีหลังคลอดยังคงอ่อนเพลียจากการสูญเสียเลือดและพลังงาน ในขณะคลอด ฉะนั้นสตรีหลังคลอดควรได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
S = spirituality
ส่งเสริมความเชื่อเพื่อช่วยให้รู้สึกมีแหล่งพึ่งพาทางจิตใจ ดังนั้นควรมีการ ส่งเสริมให้มารดาหลัง คลอดได้ทำกิจวัตรหรือกิจกรรมทางศาสนาที่เหมาะสมตามความต้องการ
E = exercise
การออกกำลังกายช่วยให้สารเอนโดรฟินหลั่งส่งผลให้ร่างกายสดชื่น การ บริหารร่างกายในระยะหลังคลอดมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกเหรอของ ร่างกาย
อ้างอิง
แก้วตะวัน ศิริลักขณานันท์. (2561). บทบาทพยาบาลกับการดูแลแบบองค์รวมในหญิงหลังคลอดที่มีภาวะซึมเศร้า. วารสารพยาบาลทหารบก. 19(1). 26-27
คชารัตน์ ปรีชล. (2559). ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด:การป้องกันและการดูแล Postpartum depression: Prevention and care. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย. 9(2). 25-26
อัยย์ชาร์ สุขเกษม, กัญญาณัฐ สิทธิภา, ฐิติพร แสงพลอย และ นลินี สิทธิบุญมา. (2561). ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด : บทบาทสำคัญของพยาบาล. เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL, 10(2), 217-228.