Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเป็นพลเมืองกับกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในชุมชน - Coggle Diagram
ความเป็นพลเมืองกับกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในชุมชน
ความหมายทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม
ยุพาพร รูปงาม : เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกันในเรื่องของความ ต้องการและทิศทางของการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพ้องต้องกัน จะต้องมีมากจนเกิด ความคิดริเริ่มโครงการเพื่อการปฏิบัติ
Rose : ชุมชนใดที่ไค้เปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมมาก เท่าใด ก็จะทำให้การพัฒนาชุมชนนั้นสามารถเป็นไปได้โดยสะดวกและสามารถดำเนิน ไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ได้
Erwin : กระบวนการให้บุคคลเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนา ร่วมคิด ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาด้วยตนเอง เน้นการมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องอย่างแข็งขัน
แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วม
การที่ประชาชนหรือชุมชนสามารถเข้าไปมีส่วนในการตัดสินใจ ในการกำหนด นโยบายพัฒนาท้องถิ่น และมีส่วนร่วมในการรับประโยชน์จากบริการ
ขั้นตอนการมีส่วนร่วม
โกวิทย์ พวงงามมี 5 ขั้นตอน
สำนักมาตรฐานการศึกษา, สำนักงานสภาสถาบันราชภัฎ, กระทรวง ศึกษาธิการ, สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา และทบวงมหาวิทยาลัยเเบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน
ระดับของการมีส่วนร่วม
นรินทร์ชัย พัฒนพงศา 5 ระดับ
ตามเเบบการพัฒนาชุมชน 2 ระดับ
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
หลักการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างทางราชการกับประชาชน
หลักการขจัดความขัดแรง
หลักการสร้างอุดมการณ์และค่านิยมในด้านความขยัน ความอดทน การ
ร่วมมือ การซื่อสัตย์ และการพึ่งตนเอง
กรรมวิธีในการมีส่วนร่วมของประชาชน
กระบวนการมีส่วนร่วม
การมีส่วนร่วมด้านการวางแผน
การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ
การมีส่วนร่วมในการจัดสรรผลประโยชน์
การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล
การบริหารความขัดแย้ง
ความหมายของความขัดแย้ง
ธรรมชาติของความขัดแย้ง
สาเหตุที่ทำให้มนุษย์ขัดแย้งกัน
กระบวนการความขัดแย้ง
ประเภทของความขัดแย้ง
ผลทางบวกของความขัดแย้ง
ผลทางด้านลบของความขัดแย้ง
หลักการสำคัญเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้ง
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม
ทฤษฎีการใช้วิธีและระบบทางการบริหาร
ทฤษฎีการเกลี้ยกล่อมมวลชน
ทฤษฎีสร้างความรู้สึกชาตินิยม
ทฤษฎีการระดมสร้างขวัญของคนในชาติ
ทฤษฎีการสร้างผู้นำ