Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดหลักการพัฒนาอนามัยชุมชน, มีความเพียงพอ, เข้าถึงได้ - Coggle Diagram
แนวคิดหลักการพัฒนาอนามัยชุมชน
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในการพัฒนาอนามัยชุมชน
หลักการสำคัญของการจัดบริการการพยาบาลสาธารณสุขหรือการพยาบาลอนามัยชุมชน
พัฒนาสุขภาพของประชาชนให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างผาสุข ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ครอบคลุมถึงการจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค สร้างความตระหนักและการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ลักษณะการปฏิบัติงานด้านการพยาบาลอนามัยชุมชน
เป็นบริการเพื่อสุขภาพ
เป็นการดูแลต่อเนื่องแบบองค์รวมและผสมผสาน
เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งและความร่วมมือของชุมชน
ให้ความสำคัญกับปัญหาที่เกิดกับคนส่วนใหญ่และกลุ่มเสี่ยงก่อน มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมากกว่าการตามแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
Roles of community health nurses
ผู้ให้บริการดูแลสุขภาพ
ผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ
ผู้พิทักษ์สิทธิ์
ผู้จัดการ
ผู้ประสานความร่วมมือ
ผู้นำ
ผู้วิจัย
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงาน
ผู้ให้คำปรึกษา
ขอบเขตของพยาบาลชุมชน
การจัดการกับภาวะสุขภาพและความเจ็บป่วย
การเฝ้าระวังและติดตามควบคุมคุณภาพการบริการ
การจัดระบบเพื่อบริหารจัดการบริการสุขภาพ
การดูแลและช่วยเหลือผู้รับบริการ
การสอนสุขภาพ
การจัดการกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทันทีอย่างเหมาะสมและปลอดภัย
คุณลักษณะพยาบาลอนามัยชุมชน
มีความสามารถในการตัดสินใจ
มีทักษะการบริหารจัดการ
มีความสามารถในการสื่อสาร
มีความรอบรู้เทคโนโลยีเพื่อการค้นหาข้อมูล
มีความรู้ความสามารถ ทักษะการปฏิบัติการพยาบาล
แนวคิดการพัฒนาอนามัยชุมชน
ความหมายการพัฒนาชุมชน
การเสริมสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมให้แก่ท้องถิ่นชนบททุกแห่งทุกส่วน โดยการดำเนินการและการริเริ่มจากประชาชนเอง อาศัยความสามารถของรัฐบาลที่เป็นผู้แทนเข้าไปบริหารในด้านเครื่องมือ เครื่องใช้ กระตุ้นและเร่งเร้าให้ประชาชนมองเห็นปัญหาของตนเอง
จุดมุ่งหมายของการพัฒนาชุมชน
ยกฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
เปลี่ยนแปลงชีวิตจิตใจ ความรู้สึกของประชาชน ให้มีความรู้สึกที่จะยกมาตรฐานความเป็นอยู่ของตน
ส่งเสริมให้ประชาชนมีความกระตือรือร้น สนใจการทำงานในชุมชนและพยายามช่วยตนเองมากที่สุด
แนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
พัฒนาอนามัยชุมชนร่วมกับด้านอื่นๆ
ความคิดริเริ่มและมีส่วนร่วมของชุมชน
การร่วมมือระหว่างรัฐ เอกชนและชุมชน
ใช้เทคโนโลยีที่เข้าใจง่าย ทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
เปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพโดยชุมชน
ไม่ขัดแย้งกับวัฒนธรรมในชุมชน
หลักการพัฒนาอนามัยชุมชน
หลักการพัฒนาอนามัยชุมชน
หลักการประชาธิปไตยในการดำเนินงาน
หลักการใช้ประโยชน์จากผู้นำท้องถิ่น
หลักการให้ประชาชนมีส่วนร่วม
หลักการเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่น
หลักการช่วยตนเอง
หลักกประเมินผล
ประโยชน์ของการพัฒนาชุมชน
ด้านเศรษฐกิจ
เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
การดำรงชีพดีขึ้น รายได้มากขึ้น การหมุนเวียนกระแสเงินดีขึ้น
รายได้ประชาชาติสูงขึ้น
ด้านสังคม
ส่งเสริมความเป็นอยู่ทางด้านอนามัย
ลดความเหลื่อมล้ำแตกต่าง มีความเสมอภาคเป็นธรรม
ส่งเสริมฐานะทางสังคม การศึกษา สร้างด้วยความร่วมมือของคนในท้องถิ่นทำให้มีส่วนรับผิดชอบในการศึกษายิ่งขึ้น
ด้านการเมือง
อำนวยผลประโยชน์ในการปกครอง ขจัดความแตกแยกห่างเหิน
ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ประชาชนมีความรู้สึกรับผิดชอบ รู้สึกเป็นเจ้าของประเทศมากขึ้น
ช่วยให้ประชาชนเป็นฝ่ายรัฐบาล ทำให้การรุกรานของฝ่ายตรงข้ามไม่ได้ผล
ประชาชนจงรักภักดีต่อรัฐบาล
สร้างสรรค์การอยู่ดี กินดีให้เกิดแก่ชุมชน
สุขภาพ
ความหมายของชุมชนสุขภาพ
การรวมตัวให้เกิดชุมชนเข้มแข็งในรูปต่าง ๆ อาจเป็นกลุ่มชมรม สมาคม เรียกว่ามีความเป็นประชาคม ทำให้มีศักยภาพในการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ จิตใจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม การเมืองและสุขภาพ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ปัจจัยภายใน
พันธุกรรม
พฤติกรรการดำรงชีวิต
ปัจจัยภายนอก
สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ
สังคม
วัฒนธรรม
ระบบบริการสุขภาพ
Health
ทางกาย
ร่างกายแข็งแรง
เข้าถึงบริการ
ทางสังคม
เสมอภาค เป็นธรรม
สันติวิธี
ทางใจ
จิตใจดี
มีความสุข
ทางปัญญา
มีสติและปัญญา
ฉลาด รู้เท่าทัน
สาธารณสุข
ความสำคัญ
ประชาชนมีสุขภาพดี
มีชีวิตยืนยาวและมีความสุข
ประชาชนมีคุณภาพและผลิตสมาชิกที่มีคุณภาพ
ประชาชนที่มีคุณภาพช่วยพัฒนาประเทศ
หลักกในการจัดบริการสาธารณสุข
มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ
มีประสิทธิภาพ
มีการบริการอย่างต่อเนื่อง
มีความเสมอภาค
หลักการสาธารณสุขโดยทั่วไป
ให้การดูแลประชาชนแบบองค์รวม
ให้การดูแลโดยไม่เลือกชนชั้น
ให้การดูแลประชาชนทุกสถานที่
ใช้กลวิธีในการดูแลประชาชน ให้ประชาชนมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้
ให้การดูแลทุกภาวะสุขภาพ คือ ภาวะปกติ ภาวะเสี่ยง และภาวะการเจ็บป่วย
ประสานความร่วมมือทางด้านสังคมเพื่อพัฒนาสุขภาพประชาชน
เป้าหมายการพัฒนาอนามัยชุมชน
การให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี
หลักในการทำงานพัฒนาอนามัยชุมชน
ให้นำทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้
ส่งเสริมให้กลุ่มมีพลังความสามารถ
การเปลี่ยนแปลงควรเริ่มจากสิ่งที่ง่ายไปยาก
เปลี่ยนกระบวนทัศน์ประชาชนให้เกิดความคิดช่วยตนเองและร่วมใจพัฒนา
ส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการรวมกลุ่มใช้ความสามารถที่มีอยู่ในชุมชน
มีความเพียงพอ
เข้าถึงได้