Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้นโยบายและแผนพัฒนาสาธารณสุข, นางสาวเจนจิรา จิตหาญ รหัส…
สรุปการเรียนรู้นโยบายและแผนพัฒนาสาธารณสุข
สภาพปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
1.สังคมผู้สูงอายุ: ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Aged Society๗ โดยโครงสร้างประชากรสูงอายุมีจำนวนมากขึ้นขณะที่วัยเด็กและวัยทำงานลดลง
2.ปัญหาสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอยอัตราการเกิดขยะมูลฝอย 1.18 กิโลกรัม / คน / วัน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2562)-การใช้สารอันตรายโดยเฉพาะจากภาคอุตสาหกรรม-มลพิษทางอากาศเช่นฝุ่นละอองก๊าซโอโซนและสารอินทรีย์ระเหยง่าย สถานการณ์หมอกควันภาคเหนือ ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอุณหภูมิของโลกสูงเกิดผลกระทบโดยตรงต่อการเกิดโรคติดต่อทั้งในคนและสัตว์ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
3.ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี-สเต็มเซลล์มีศักยภาพที่จะพัฒนาไปเป็นเซลล์ได้หลายอวัยวะสามารถเอาไปใส่ในคนที่อวัยวะเสื่อมเพราะโรคและบังคับให้แบ่งตัวมาทำหน้าที่หรือซ่อมแซมอวัยวะที่เสียหายได้หุ่นยนต์ทางการแพทย์เช่นหุ่นยนต์ดาวินชี (Da Vinci)
5.สาเหตุการตาย / แสนประชากร 1. มะเริง 2. หลอดเลือดสมอง 3. หัวใจขาดเลือด 4. อุบัติเหตุเปิด ถนน 5. เบาหวาน -การตายที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ได้แก่ อุบัติเหตุ ทำร้ายตนเอง จมน้ำ พลัดตกหกล้ม
4.โรคที่มีอุบัติการณ์ลดลงกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนโรคมาลาเรียโรคที่มีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นโรคไม่ติดต่อโรคติดเชื้ออุบัติใหม่เช่นไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (ซิฟิลิสหนองในหนองในเทียมแผลริมอ่อนฝีมะม่วงหรือกามโรคต่อน้ำเหลือง) วัณโรค
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 (2559-2564)
ยุทธศาสตร์ที่ 1: เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก (P: Health Promotion + Disease Prevention + Consumer & Environment Protection Exellence or P & P Exellence)
ระดับพัฒนาการเด็กไทยสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
IQ เฉลี่ยเด็กไทยไม่ต่ำกว่า 100
EQ เด็กไทยสูงกว่าคะแนนมาตรฐานร้อยละ 70
อัตราเสียชีวิตจากบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 16 ต่อแสน
อัตราตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCD ลดลง
อัตราของ Healthy Ageing เพิ่มขึ้น (ADL> 12 คะแนน)
อัตราเจ็บป่วยต่อผลิตภัณฑ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมลดลง
ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทยเพิ่มขึ้น
พฤติกรรมสุขภาพของคนไทย (เพิ่มขึ้นร้อยละ 5)
9.1 อัตราการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
9.3 ความชุกของการสูบบุหรี่และบริโภคแอลกอฮอล์ลดลง
9.2 อัตราการบริโภคผักและผลไม้เพิ่มขึ้น
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 (2559-2564)
ยุทธศาสตร์ที่ 2: สร้างความเป็นธรรมลดการเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ (Service Exellence)
ความครอบคลุมของหน่วยบริการปฐมภูมิที่มีทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวร้อยละ 100
จำนวนศูนย์แพทย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง 4 สาขาหลัก (มะเร็งหัวใจอุบัติเหตุทารกแรกเกิด) ครบทั้ง 12 เขต
อัตราส่วนเตียงต่อประชากรรวมทั้งประเทศและการกระจายระหว่างพื้นที่
ระยะเวลารอคอยในการรับการรักษาพยาบาลที่แผนกผู้ป่วยนอกลดลงร้อยละ 30
อัตราการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพลดลงร้อยละ 50
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 (2559-2564)
ยุทธศาสตร์ที่ 3: พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ (People Exellence)
1: 6500: พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 1. อัตราส่วนกำลังคนด้านสุขภาพต่อประชากรแพทย์ 1: 1800 ทันตแพทย์เภสัชกร 1: 3500 พยาบาลวิชาชีพ 1: 400
สัดส่วนแพทย์ต่อประชากรระหว่างพื้นที่แตกต่างกันไม่เกินร้อยละ 20
ขีดความสามารถของบุคลากรด้านสาธารณสุข 4. ระดับความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรด้านสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 (2559-2564)
ยุทธศาสตร์ที่ 4: พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ (Governance Exellence)
ความครอบคลุมของหน่วยงานด้านสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ITA (Integrity and Transparency Assessment))
ระดับการใช้ประโยชน์ได้ทั้งการบริหารจัดการและการบริการประชาชนของระบบข้อมูลสุขภาพครอบคลุมประเด็นข้อมูลสำคัญ
จำนวนผลงานวิจัยนวัตกรรมด้านสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
สัดส่วนมูลค่าการนำเข้ายาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพไม่เพิ่มขึ้น
แนวทางการแก้ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ (แผนงานและโครงการกระทรวงสาธารณสุข 2564) ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ
1แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
1.1 โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
1.2 โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากร
แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการป้องกันการควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
3.1 โครงการพัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ
3.2 โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
3.3 โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ
แผนงานบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
4.1 โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แผนงานการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
5.1 โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
5.2 โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพและอสม.
แผนงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
6.1 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
6.2 โครงการพัฒนาระบบบริการโรคติดต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ
6.3 โครงการป้องกันและควบคุ้มการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
6.4 โครงการพัฒนาศูนย์ความป็นเลิศทางการแพทย์
6.5 โครงการโครงการพัฒนาระบบสุขภาพสาขาทารกแรกเกิด
6.6 โครงการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองและการดูแลผู้ป่วยถึงแยบพลัน
6.7 โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทย
6.8 โครงการพัฒนระบบบริการสุขภาพสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
6.9 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก
6.10 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาโรคหัวใจ
6.11 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาโรคมะเร็ง
6.12 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาโรคไต
6.13 โครงการพัฒนระบบบริการสุขภาพสาขาจักษุวิทยา
6.14 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาปลูกถ่ายอวัยวะ
6.15 โครงการพัฒนาระบบบริการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด
6.16 โครงการการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง (Intermediate care)
6.17 โครงการพัฒนาระบบบริการ One Day Surgery
6.18 โครงการกัญชาทางการแพทย์
6.19 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
แผนงานการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
7.1 โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
แผนงานการพัฒนาตามโครงการพระราชดำริโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะ
8.1 โครงการพระราชดำริโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะ
แผนงานอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจรการท่องเที่ยวสุขภาพและความงามและเเพทย์แผนไทย
9.1 โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์
แผนงานการพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
10.1 โครงการผลิตและพัฒนากำลังคน
10.2 โครงการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
แผนงานการพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรณ์คุณภาพ
11.1 โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
11.2 โครงการประเมินคุณธรรมความโปร่งใส
11.3 โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุขกระทรวงแห่งความสุข
แผนงานการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
12.1 โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ
12.2 โครงการ Smart Hospital
แผนงานการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
13.1 โครงการลดความเหลื่อมล้ำของ 3 กองทุน
13.2 โครงการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง
แผนงานการพัฒนางานวิจัยและนวตกรรมด้านสุขภาพ
14.1 โครงการพัฒนางานวิจัย / นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์
แผนงานการปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ
15.1 โครงการปรับโครงสร้างและพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ
นางสาวเจนจิรา จิตหาญ รหัส 61121301019 เลขที่ 18