Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดหลักการพัฒนาอนามัยชุมชน, นางสาวอารียา มั่นวงศ์ รหัส 61121301107…
แนวคิดหลักการพัฒนาอนามัยชุมชน
ความหมายการพัฒนาชุมชน
ขบวนการที่กำหนดขึ้นเพื่อส่งเสริมและปรับปรุงภาวะต่างๆ ทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของท้องถิ่นต่างๆ ให้ดีขึ้น ซึ่งเป็นการกระทำร่วมกันของผู้คนในท้องถิ่นนั้น
จุดมุ่งหมายการพัฒนาชุมชน
1.เพื่อยกฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีกว่าที่เป็นอยู่ โดยนำทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ให้เป็นประโยชน์กับสังคม และให้มีผลมากที่สุดเพื่อผลิตรายได้ของปชช ให้สูงขึ้น
2.เพื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไขจิตใจ และความรู้สึกของปชช ให้รู้สึกที่จะยกมาตรฐานความเป็นอยู่ของตน
3.เพื่อส่งเสริมให้ปชช มีความกระตือรือร้นสนใจการทำงานในชุมชนและพยายามช่วยตนเองให้มากที่สุด
แนวคิดการพัฒนาชุมชน
1.ร่วมมือระหว่างรัฐและชุมชน
2.ช่วยเหลือตนเอง
3.ความคิดริเริ่มของชุมชน
4.ความสมดุลในการพัฒนา
หลักการการพัฒนาชุมชน
2.ให้ปชช มีส่วนร่วม
3.ปชต ในการดำเนินงาน
4.ใช้ประโยชน์จากผู้นำท้องถิ่น
5.เข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่น
6.ประเมินผล
1.ช่วยตนเอง
ประโยชน์การพัฒนาชุมชน
ด้านเศรษฐกิจ
เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต การดำรงชีพดีขึ้น มีรายได้มากขึ้น รายได้ประชาชาติสูงขึ้น
ด้านสังคม
ผลสำเร็จของการพัฒนาชุมชนจะส่งเสริมความเป็นอยู่ทางด้านอนามัยช่วยลดความเหลื่อมล้ำแตกต่างในเรื่องชนชั้นในสังคมให้น้อยลงมีความเสมอภาคเป็นธรรมแก่สังคมส่งเสริมฐานะของสังคมทางการศึกษา
ด้านการเมือง
ทำให้ประชาชนจงรักภักดีต่อรัฐบาล เห็นว่ารัฐบาลไม่ทอดทิ้ง ทำให้ปชช มีความรู้สึกรับผิดชอบ รู้สึกเป็นเจ้าของประเทศยิ่งขึ้น อำนวยผลประโยชน์ในการปกครอง ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ช่วยให้ปชช เป็นฝ่ายรัฐบาล และสร้างสรรค์การอยู่ดีกินดีให้บังเกิดแก่ชุมชน
ชุมชนสุขภาพ
การรวมตัวให้เกิดชุมชนเข้มแข็งในรูปต่างๆ ทำให้มีศักยภาพในการแก้ปัญหาทั้งทางเศรษฐกิจ จิตใจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม การเมืองและสุขภาพ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ปัจจัยภายใน
พันธุกรรม พฤติกรรมการดำรงชีวิต
ปัจจัยภายนอก
สิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและระบบบริการสุขภาพ
หลักการสาธารณสุขโดยทั่วไป
3.ให้การดูแลปชช แบบองค์รวม
4.ให้การดูแลปชช โดยไม่เลือกชนชั้นวรรณะ
2.ให้การดูแลปชช ทุกสถานที่
5.ใช้กลวิธีต่างๆในการดูแลสุขภาพปชช โดยเฉพาะให้ปชช มีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้ในระดับหนึ่ง
1.ให้การดูแลทุกภาวะสุขภาพ
6.ประสานความร่วมมือทางด้านสังคมเพื่อพัฒนาสุขภาพของปชช
ความสำคัญของการสาธารณสุข
2.มีชีวิตยืนยาวและมีความสุข
3.การมีสุขภาพดีจะทำให้ประชากรมีคุณภาพ IQ,EQ,มีอาชีพ รายได้และผลิตสมาชิกที่มีคุณภาพ
1.ทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี
4.ประชาชนที่มีคุณภาพจะช่วยพัฒนาประเทศ
หลักการ
3.มีการบริการอย่างต่อเนื่อง
4.มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ
2.เข้าถึงได้
5.มีประสิทธิภาพ
1.มีความเพียงพอ
6.มีความเสมอภาค
เป้าหมายการพัฒนาอนามัยชุมชน
การให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี
การพัฒนาอนามัยชุมชน
การเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพของชุมชนโดยอาศัยความร่วมมือของปชช ในการดำเนินงานเพื่อยกระดับชีวิตอันจะนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
แนวคิดการพัฒนาอนามัยชุมชน
4.พัฒนาอนามัยชุมชนร่วมกับด้านอื่นๆ
5.ใช้เทคโนโลยีที่เข้าใจง่าย ทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
6.ไม่ขัดแย้งกับวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ในชุมชน
3.เป็นความคิดริเริ่มและมีส่วนร่วมของชุมชน
2.เป็นการร่วมมือระหว่างรัฐ เอกชน และชุมชน
1.เปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพโดยชุมชน
หลักในการทำงานพัฒนาอนามัยชุมชน
1.เปลี่ยนกระบวนทัศน์ประชาชนให้เกิดความคิด ช่วยตนเอง และร่วมแรงร่วมใจในการพัฒนา
2.ส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการรวมกลุ่มใช้ความสามารถที่มีอยู่ในชุมชน
3.ส่งเสริมให้กลุ่มมีพลังความสามารถ
4.ให้นำทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้
5.การเปลี่ยนแปลงควรเริ่มจากสิ่งที่ง่ายไปยาก
คุณลักษณะพยาบาลอนามัยชุมชน
มีความรู้ความสามารถ ทักษะการปฏิบัติการพยาบาล มีความสามารถในการสื่อสาร มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะการบริหารจัดการ และมีความรอบรู้เทคโนโลยีเพื่อการค้นหาข้อมูล
ลักษณะการปฏิบัติงานด้านการพยาบาลอนามัยชุมชน
เป็นบริการเพื่อสุขภาพ เป็นการดูแลต่อเนื่อง แบบองค์รวม และผสมผสาน เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งและความร่วมมือของชุมชน เพิ่มศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง ให้ความสำคัญกับปัญหาที่เกิดกับคนส่วนใหญ่และกลุ่มเสี่ยงก่อน
Roles of community health nurses
1.ผู้ให้บริการดูแลสุขภาพ(Health care provider/clinician role )
2.ผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ(Health educator)
3.ผู้พิทักษ์สิทธิ์(Advocate)
4.ผู้จัดการ(Manager)
5.ผู้ประสานความร่วมมือ(Collaborator)
6.ผู้นำ (Leader)
7.ผู้วิจัย(Researcher)
8.ผู้นำการเปลี่ยนแปลง(Change agent)
9.ผู้ประสานงาน(Co-ordination)
10.ผู้ให้คำปรึกษา(counselor)
ขอบเขตของพยาบาลชุมชน
หลักการสำคัญของการจัดบริการการพยาบาลสาธารณสุขหรือการพยาบาลอนามัยชุมชน
พัฒนาสุขภาพอนามัยของปชช ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างผาสุกไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ครอบคลุมถึงการจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ การมุ่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค การสร้างความตระหนักและการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม การมีภาวะสมดุลย์ทางด้านโภชนาการความปลอดภัยของมารดาและทารก การพัฒนาคุณภาพของระบบบริการและสถานบริการสุขภาพทุกระดับ โดยเน้นให้เกิดการบริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ มีความเพียงพอ ปชช ทุกคนสามารถเข้าถึงการบริการและใช้บริการได้อย่างสะดวก และปลอดภัย
1.การจัดการกับภาวะสุขภาพและความเจ็บป่วย
2.การเฝ้าระวังและติดตามควบคุมคุณภาพการบริการ
3.การจัดระบบเพื่อบริหารจัดการบริการสุขภาพ
4.การดูแลและช่วยเหลือผู้รับบริการ
5.การสอนสุขภาพเพื่อให้ผู้รับบริการสามารถดูแลสุขภาพ
ตนเองและพึ่งตนเองได้
6.การจัดการกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทันทีทันใดอย่างเหมาะสมและปลอดภัย
นางสาวอารียา มั่นวงศ์ รหัส 61121301107 เลขที่ 103