Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุป Mindmap Biology, ทรัพยาการน้ำ, ทรัพยากรดิน, ทรัพยากรอากาศ - Coggle…
สรุป Mindmap Biology
วัฏจักรของสสาร
ไนโตรเจร (N2)
คาร์บอน (C)
น้ำ (H2O)
ฟอสฟอรัส (P)
ปรากฏการณ์ยูโทรฟิเคชั่น
สาเหตุ
ปล่อนน้ำเสีย
ผลกระทบ
แพลงก์ตอนบูม
กำมะถัน (S)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา
ปฏิกิริยาของสิ่งมีชีวิตต่อแหล่งที่อยู่อาศัย
การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศอย่างรุนแรง
กิจกรรมของมนุษย์
ประเภท
แบบปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
การจัดขยะแบบ 7R
Ecosystem (ระบบนิเวศ)
ระบบนิเวศของสิ่งมีชีวิต (Biotic component)
ผู้ผลิต (Producer)
สร้างอาหารเองได้
ส่วนมากเป็นพืชที่มีคลอโรฟิลล์
ผู้บริโภค (Consumer)
สร้างอาหารเองไม่ได้ต้องล่าเหยื่อหรือกินผู้ผลิต
ส่วนมากเป็นสัตว์
แบ่งได้เป็น 4 เหล่าดังนี้
ผู้บริโภคพืช (Herbivore)
ผู้บริโภคสัตว์ (Carnivore)
ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore)
ผู้บริโภคซากสัตว์ (Scavenger)
ผู้ย่อยสลาย (Decomposer)
ทำหน้าที่ย่อยสลายสิ่งที่หมดอายุขัยแล้วเพื่อให้เป็นสารอาหารให้ผู้ผลิตต่อไป
พวกรา และเห็ด
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Food Chain
Food Web
ความสัมพันธ์ต่างๆ
(+,+)
Protocooperation (ภาวะผลประโยชน์ร่วมกัน) "แยกไม่ตาย"
Mutualism (ภาวะพึ่งพากันและกัน) "แยกตาย"
(+,0)
Commensalism (ภาวะอิงอาศัย)
(+,-)
Predation (ภาวะล่าเหยื่อ)
Parasitism (ภาวะปรสิต)
ระบบนิเวศของสิ่งไม่มีชีวิต (Abiotic component)
Environment (สิ่งแวดล้อม)
เครื่องมือ (Gear)
Sechi-Disc
Thermometer และ ขวดแก้วหย่อนลงน้ำ
กระดาษลิตมัส
ทรัพยาการทางธรรมชาติ (Natural Resource)
ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น
ทรัพยาการที่ใช้แล้วทดแทนได้
ทรัพยาการที่ใช้แล้วหมดไป
ทรัพยาการน้ำ
ปัญหาด้านมลพิษท่งน้ำ
การทับถมการของซากพืชซากสัตว์
แหล่งชุมชน
โรงงานอุตสาหกรรม
การเกษตรการทำปศุสัตว์
การทำเหมืองแร่
2.59% เป็นน้ำจืด
0.014% คือน้ำจืดที่มาใช้ประโยชน์ได้จริงๆ
1.984% น้ำแข็ง
0.592% น้ำใต้ดิน
ประเภทของแหล่งนน้ำที่มนุษย์ใช้ประโยชน์
หยาดน้ำฟ้า
น้ำผิวดิน
น้ำใต้ดิน
การจัดการทรัพยากรน้ำ
การวางแผนการใช้น้ำ
การนำน้ำที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่
การแก้ไขมลพิษทางน้ำ
การบำบัดด้วยวิธีชีวภาพ
การบำบัดโดยใช้วิธีทางเคมี
มีถึง 3/4 บนโลก
97.41% เป็นน้ำสมุทร
ทรัพยากรดิน
การเสื่อมโทรมของดิน
การตกกระทบของฝน
การกัดเซาะของคลื่น
การพัดพาของลม
แผ่นดินไหว
ภูเขาไฟระเบิด
ดินขาดความอุดมสมบูรณ์เนื่องจากปลูกพืชเดิมๆ เป็นเวลานานและขาดการบำรุง
ดินที่ไม่เหมาะต่อการเพาะปลูก เช้นดินเปรี้ยว
ชั้นดิน
ดินชั้นล่าง
ดินที่่มีการทับถม ดินละเอียด มีรากไม้
วัตถุต้นกำเนิดดิน
เป็นขั้นที่เกิดดินหินเกิดสลายตัวผุพัง
ดินชั้นบน
เป็นชั้นของฮิวมัส แร่ธาตุบางชนิด ซากพืช ซากสัตว์
ชั้นผิวดิน
มีหินพื้นโลก (Bedrock) ที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานของเปลือกโลก
ชั้นผิวดิน
เป็นชั้นของอินทรีย์วัตถุ
องค์ประกอบ
น้ำ 25 %
อากาศ 25%
อนินทรีย์วัตถุ 45 %
อินทรีย์วัตถุ 5%
สาเหตุของการเกิดมลพิษในดิน
การทิ้งขยะต่างๆ ลงไปทำให้เกิดการสะสมสารเคมี
ทางสารเคมีโดยตรงคือการเกษตรที่ใช้ปุ๋ยเคมี
สารกัมมันตภาพรังสี
การป้องกันการพังทลายของหน้าดิน
การปลูกนาขั้นบันได
การปลูกนาคลุมดิน
การเพื่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน
พืชหมุนเวียน
ทรัพยากรอากาศ
การปนเปื้อนของอากาศ
อนุภาคของ หิน ดิน ทราย ในอากาศ
CO2 ในอากาศ
CO ในอากาศ
SO2 ทำปฏิกิริยากับ O2
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ตะกั่ว
ปรอท
แคดเมียม
องค์ประกอบ
ไนโตรเจน
ออกซิเจน
คาร์บอนไดออก"วด์และอื่นๆ
ผลกระทบ
ด้านเศรษฐกิจ
ผลผลิตทางเกษตรกรรมต่ำลง
ทางด้านคมนาคม
ทำลายสิ่งก่อสร้าง
สุขภาพ
ต่อพืช
รับแสงน้อยลง
รับ CO2 น้อยลง
มลพิษทางอากาศ
ปริมาณสารเคมีที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศขนาดที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
สาเหตุ
ทางธรรมชาติ
เกิดจากการสลายตัวของซากพืช ซากสัตว์
การที่น้ำท่วมขังเป็นเวลานานเกิดกลิ่นเน่าเหม็นก่อให้เกิดแก๊เรือนกระจก
ภูเขาไฟระเบิด
จากการกระทำของมนุษย์
กิจกรรมการใช้ยานพาหนะต่างๆ
การเผาขยะ
สารเคมีทางเกษตรกรรม