Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก 👶, นางสาวสุชานาถ สุโขประสพชัย ปี 2 …
การเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก 👶
การประเมินภาวะโภชนาการในเด็ก
จะต้องดูควบคู่กับการเจริญเติบโตของเด็ก
มักใช้การชั่งน้ำหนักและส่วนสูงในการคำนวณ
การคำนวณน้ำหนัก
3-12 เดือน น้ำหนัก = ( อายุ(เดือน) + 9 ) / 2
1-6 ปี = ( อายุเป็นปี * 2 ) + 8
7-12 ปี ={ (อายุเป็นปี * 7 ) - 5 } / 2
เมื่อคำนวณออกมาแล้ว ก็ต้องนำต่าเปอร์เซยไทส์ และนำมาเที่ยบเกณฑ์
ซึ่งจะทำให้ทราบเกี่ยวกับภาวะทางโภชนาการของเด็ก
ส่วนสูง
ไม่ไว่ต่อการเปลี่ยนแปลงเหมือนกับน้ำหนัก
หากส่วนสูงไม่มีการเปลี่ยนแปลงก็จะบอกได้ว่าเด็กมีภาวะการขาดสารอาหารเรื้อรัง
การคำนวณ
อายุ 2-12 ปี = (อายุ (ปี) * 6) + 77
เมื่อคำนวณออกมาแล้ว ก็ต้องนำต่าเปอร์เซยไทส์ และนำมาเที่ยบเกณฑ์
เกณฑ์มาตรฐานอยู่ที่ ระดับเปอร์เซนไทส์ที่ 95
ความรู้เกี่ยวกับการคำนวณนม และการให้นมในเด็ก
ทารก
ต้องการพลังงาน 100 Kcal/kg/day
แหล่งพลังงานที่สำคัญมาจาก นมแม่ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่เพียงพอสำหรับทารกในช่วง 6 เดือนแรก
นมแม่ เป็นโปรตีนคุณภาพดี ซึ่งทำให้ทารกไม่เกิดโรคภูมิแพ้
สิ่งที่ต้องทราบเกี่ยวกับน้ำนม
ทารกคลอดครบกำหนด 1 ออนช์ = 20 cal
ทารกคลอดก่อนกำหนด 1 ออนช์ = 24 cal
การคำนวณพลังงาน
10 กิโลแรก = 100 Kcal/kg/day
10 กิโลต่อมา = 50 Kcal/kg/day
น้ำหนักที่เหลือ = 20 Kcal/kg/day
การชงนม
ล้างมือให้สะอาด
ต้มขวดนม 15-20 น.
ใส่น้ำต้มสุก 70 องศา
ใสนมและเขย่า เก็บไว้ได้ 2 ชม. เท่านั้น
วัยรุ่น
เป็นช่วงวัยที่ต้องการสารอาหารที่มากกว่าวัยอื่น เช่น แคลเซี่ยม ธาตุ และวิตามิน ต่างๆ
ต้องการพลังงาน 1600 - 2300 Kcal/kg/day
ถ้าได้รับแคลเซี่ยมไม่พอ เสียงเป็นโรคกระดูกพรุน
การให้อาหารเสริมในเด็ก
เริ่มให้อาหารเสริมครั้งแรกเมื่ออายุ 6 เดือน
อาหารเสริมที่ให้ครั้งแรกควรบดให้ละเอียด ลื่นคอ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็นบกแบบหยาบเมื่อทารกมีฟัน
ในการให้อาหารเสริมแต่ละชนิดควรให้ปริมาณน้อย แต่ละชนิดควรห่าง 4-7 วัน
ควรให้ทารกเรียนรู้การทานอาหารจากช้อน
ควรให้อาหารก่อนให้นม หรือให้ในช่วงที่หิว
ขณะที่ป้อนอาหารเสริมทารกจะเอาลิ้นดุนอาหารออกมา แต่ไม่ใช่การปฎิเสธอาหาร
อาการนี้จะหายไปเมื่อ อายุ 4- 6 เดือนขึ้นไป
Marasmu กับ Kwashiorkor แตกต่างกันอย่างไร
Marasmu โรคขาดสารอาหาร
ขาดทั้งโปรตีนและพลังงาน
อาการแสดง
ผอมแห้ง
กล้ามเนื้อลีบ
ไขมันใต้ผิวหนังมีน้อย
น้ำหนักต่ำกว่าปกติ
มีภาวะขาดพลังงานซึ่งพบบ่อยในเด็กอายุกว่า 1 ปี
Kwashiorkor
เกิดจากการขาดโปรตีน
อาการแสดง
มีอาการบวมที่ เท้าและขา เป็นส่วนใหญ่ หรืออาจกระจายไปอวัยวะอื่นๆ
กดบุ๋ม
ผิวหนังมันวาว บาง แห้ง เหมือนกับหนังคางคก สีกระดำกระด่าง หรือเกิดผิวหนังลอก ซึ่งทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากภูมิต้านทานต่ำเพราะขาดโปรตีน
ยังคงมีไขมันที่ใต้ผิวหนัง
ปัญหาการดูดนิ้ว และ พี่อิจฉาน้อง
พฤติกรรมพี่อิจฉาน้อง
เนื่องจาก
รู้สึกว่าตนเองกำลังถูกแบ่งความรัก กับน้องที่มาใหม่
การอิจฉาซึ่งกันและกัน
การแก้ไข
ในช่วงที่คลอดน้องไม่ควรนำพี่เข้าโรงเรียน
ให้พี่มีส่วนร่วมในการเลือกของต่างๆให้กับตัวเอง และน้องด้วย
ควรมีเวลาให้กับลูกๆ
พี่ควรได้รับการกระตุ่นในการช่วยดูแลน้อง
ทำทุกอย่างให้เด็กๆรู้สึกถึงความรักที่เท่าเทียมกัน
การดูดนิ้ว
พบได้ในระยะ Oral stage แต่ถ้า 2-3 ขวบยังดูดอาจเกิดจากการวิตกกังวล
การแก้ไข
ต้องหาสาเหตุ ที่เด็กมีพฤติกรรมในการดูดนิ้ว
หาวิธีเบี่ยงเบนความสนใจของเด็กเพื่อให้เด็กเลิกดูดนิ้ว
การดูดนิ้วนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ได้มีความอัตราย นอกสะการมีแผลที่นิ้ว แต่อาจมีผลต่อการผิดรู้ปของเหงือกหากมีพฤติกรรมการดูดนิ้วเกิน 5 ขวบ
นางสาวสุชานาถ สุโขประสพชัย
ปี 2 รหัสนักศึกษา 62111301093 เลขที่ 90