Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย] - Coggle Diagram
[ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย]
ประเทศไทยตั้งอยู่ในโซนร้อนเหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อยและอยู่ติดทะเล
มีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการอยู่รอด การเจริญเติบโตและการแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด
มีความแตกต่างกันของสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย
ป่าไม่ผลัดใบเช่น ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าชายเลน
ป่าผลัดใบเช่น ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ
ป่าที่มีลักษณะพิเศษเช่นป่าชายหาด ป่าเขาหินปูน เป็นต้น
ประเทศไทยอยู่ในบริเวณศูนย์กลางที่มีการกระจายพันธุ์ของพืชและสัตว์
เขตซ้อนทับกันของกลุ่มพรรณพฤกษชาติ
กลุ่มอินโด - เบอร์มีส (Indo-Burmese elements)
กลุ่มอินโด-ไชนิส (Indo-Chinese elements)
กลุ่มมาเลเซีย (Malaysian elements)
จุดซ้อนทับของเขตสัตวภูมิศาสตร์
เขตชิโน-หิมาลัย (Shino-Himalayan)
เขตอินโด-ไชนีส (Indo-Chinese)
เขตชุนดา (Sundaic)
ประโยชน์จากความหลากหลายทางธรรมชาติ
ประโยชน์ด้านการบริโภคใช้สอย
ด้านการผลิตอาหาร
ความหลากหลายทางธรรมชาติที่มนุษย์นำมาใช้เป็นแหล่งอาหารจะเป็นแหล่งวัตถุดิบที่ถูก นำมาใช้ ในการปรับปรุงคัดเลือกพันธุ์เพื่อให้ได้ผลผลิตมากขึ้น
ด้านการแพทย์
การใช้ประโยชน์จากพืชและสัตว์ในทางการแพทย์มากมายประมาณร้อยละ 25 ของยารักษาโรคผลิตขึ้นมาจาก พืชดั้งเดิม เช่น การนำพืชพวก ชินโคนา
ผลิตยาควินินที่ใช้รักษาโรคมาลาเรีย
ประโยชน์ด้านการผลิต ด้านการอุตสาหกรรม
ผลผลิตของป่าที่นำมาใช้ประโยชน์โดยตรง
การป่าไม้ ของป่า
ผลผลิตของป่าที่นำมาใช้ประโยชน์โดยอ้อม
การสกัดสารเคมีจากพืชในป่า
ประโยชน์อื่นๆ
การรักษาหน้าดินการตรึงไนโตรเจนสู่ดิน
การสังเคราะห์พลังงานของพืช
การควบคุมความชื้น