Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการศึกษาไทย - Coggle Diagram
ระบบการศึกษาไทย
1 การศึกษาไทยสมัยโบราณ (พุทธศักราช 1781-2411)
1.2 การศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา พุทธศักราช 1893-2310
รูปแบบการเรียนการสอน
วิชาชีพ
วิชาสามัญ
ด้านอักษรศาสตร์
วิชาจริยศึกษา
1.3 การศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น พุทธศักราช 2311-2411
สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
1.1 การศึกษาสมัยสุโขทัย พุทธศักราช 1781-1921
รูปแบบการจัดการศึกษา
ฝ่ายอาณาจักร
ฝ่ายพุทธจักร
2. การปฏิรูปการศึกษาช่วงที่ 1 พุทธศักราช 2411-2477
การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปัจจัยที่มีผลในการปฏิรูปการศึกษา
ภัยจากการคุกคามของประเทศมหาอำนาจ
ความต้องการบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเข้ามารับราชการ
แนวคิดและวิทยาการต่าง ๆ ของชาติตะวันตก ซึ่งคณะมิชชันนารีได้นำวิทยาการเข้ามาเผยแพร่
โครงสร้างของสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลง โดยมีการเลิกทาสและมีการติดต่อกับต่างประเทศมากขึ้น
พระองค์เสด็จต่างประเทศ ทำให้ได้แนวคิดเพื่อนำมาปฏิรูปการศึกษาและใช้เป็นแนวทางพัฒนาบ้านเมือง
การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
การศึกษาภาคบังคับ
การศึกษาภาคบังคับเป็นการศึกษาให้เปล่า
ยกเลิกการเก็บเงินศึกษาพลีคนละ 1-3 บาท
ในจัดการศึกษาให้ครบองค์ 3 ของการศึกษา
การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
จัดตั้งสถานศึกษา
ปรับปรุงและขยายฝึกหัดครู
เปลี่ยนชื่อกระทรวงธรรมการ เป็น กระทรวงศึกษาธิการ
จัดตั้งกองลูกเสือหญิงและอนุกาชาด ชื่อเนตรนารี
ประกาศใช้โครงการศึกษาชาติขึ้น
กองลูกเสือหรือเสือป่าครั้งแรก
โรงเรียนข้าราชการพลเรือน
3. การปฏิรูปการศึกษาช่วงที่ 2 พุทธศักราช 2477-2542
การศึกษาเพื่อชีวิตและสังคม
แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2494
แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2503
แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2479
แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2512
แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2475
ความเสมอภาคทางการศึกษา
รัฐถือว่าการศึกษาเป็นกระบวนการต่อเนื่องกันตลอดชีวิต
แผนการศึกษาที่จัดขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคมไทย
มีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย
ให้คนไทยรู้จักสิทธิเสรีภาพในกรอบของงกฎหมาย
จัดให้มีการศึกษาทั้งสามัญและอาชีวศึกษา
แผนการศึกษา พุทธศักราช 2535
4. การปฏิรูปการศึกษาช่วงที่ 3 พุทธศักราช 2542
การเปลี่ยนแปลงสังคมโลกให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
ความล้าหลังของการดำเนินงาน
ตัวครู
งบประมาณ
สื่อและเทคโนโลยี
กระบวนการเรียนรู้
สภาวะปัญหาของการศึกษาไทย
การบริหารจัดการ
สถานการณ์ของประเทศไทยในสังคมโลก
การเปลี่ยนแปลงของสังคมและเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
5. การศึกษาไทยสู่อาเซียนและประชาคมโลก
ให้การศึกษาเป็นกลไกลสำคุญในการขับเคลื่อน
การเตรียมการศึกษาสู่อาเซียน
ให้ความรู้แก่พลเมือง
เร่งพัฒนาเด็กและเยาวชนให้รุ้จัก วัฒนธรม สังคม และความเป็นอยู่ของเพื่อนอีก 9 ประเทศ
ทำหลักสูตรและจัดการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน