Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเลือกทำเลที่ตั้งและลักษณะของเรือนไทย 4 ภาค - Coggle Diagram
การเลือกทำเลที่ตั้งและลักษณะของเรือนไทย 4 ภาค
ภาคเหนือ
การเลือกทำเลที่ตั้ง
นิยมตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำระหว่างหุบเขา เมื่อเมืองขยายตัว จึงต้องมีการจักการระบบชลประทาน
ลักษณะของเรือนไทย
เรือนที่อยู่อาศัยจึงต้องมีชายคาที่ลาดคลุมลามาต่ำถึงตัวเรือน มีหน้าต่างน้อยเพื่อให้ภายในตัวเรือนมีความอบอุ่น การวางตัวเรือนจะเป็นลักษณะขวางตะวัน ลักษณะเด่นคือเป็นเรือนที่เป็นยอดปั้นลม นิยมประดับไม้กาเลที่แกะสลักอย่างงดงาม
ภาคกลาง
การเลือกทำเลที่ตั้ง
เป็นที่ราบลุ่มที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง มีแม่น้ำไหลผ่านหลายสาย การตั้งจึงมักตั้งติดริมแม่น้ำเป็นแนวยาว
ลักษณะของเรือนไทย
เรือนครอบครัวเดี่ยว เป็นเรือนที่มีขนาดเล็ก มีเรือนนอน 1 หลัง แบ่งเป็นห้องนอนและห้องโถง เรือนครัวอีก 1 หลัง
เรือนครอบครัวขยาย เมื่อลูกสาวแต่งงาน พ่อแม่มักปลูกเรือนให้ลูกสาวและลูกเขยอยู่ต่างหากอีก 1 หลัง
เรือนคหบดี เป็นเรือนหมู่ขนาดใหญ่ ผู้สร้างมักมีฐานะดี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะของเรือนไทย
เรือนทางภาคอีสานมีทั้งเรือนเครื่องผูกที่มักสร้างเป็นที่พักชั่วคราวไว้หลบแดด หลบฝน
เรือนกึ่งถาวร แบ่งเป็นเรือนเหย้า เป็นเรือนเครื่องผูกหรือผสมเรือนเครื่องสับ เป็นเรือนของเขยที่เพิ่งแยกตัวออกจากเรือนของพ่อแม่
เรือนดั้งต่อดิน เป็นเรือนที่มีสัดส่วนและแข็งแรงกว่าตูบต่อเล้า นิยมปลูกเป็นเรือนแฝดใต้ถุนสูง
เรือนถาวร หรือเรือนเครื่องสับไม้จริง รูปทรงเรียบง่าย หลังคาจั่วมีหน้าต่างบานเล็กๆ
การเลือกทำเลที่ตั้ง
ภาคใต้จะมีฝนตกชุกและมีแม่น้ำลำคลองหลายสาย แต่ชาวใต้ก็อาศัยน้ำบ่อ หรือน้ำพัง ในชีวิตประจำ ไม่นิยมใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลอง
ภาคใต้
ลักษณะของเรือนไทย
มีทั้งเรือนเครื่องผูกที่เป็นเรือนของชาวประมง และเรือนเครื่องสับแบ่งเป็นเรืองของชาวไทยพุทธ เรือนทั้งสองประเภทน้ำต่างเป็นเรือนยกพื้นสูงเช่นเดียวกับเรือนไทยภาคอื่นๆ
เรือนไทยพุทธ เรือนมีขนาดไม่ใหญ่โตนัก หลังคาหน้าจั่วและไม่ยกพื้นสูงขนาดให้คนเดินลอดได้สะดวก
เรือนไทยมุสลิม เป็นเรือนที่สะท้อนสถาปัตยกรรมพื้นบ้านและวัฒนธรรมอิสลาม
การเลือกทำเลที่ตั้ง
เป็นภาคที่มีความแห้งแล้งกว่าภาคอื่นๆ ภาคนี้ส่วนใหญ่เป็นดินทรายที่ไม่อุ้มน้ำ จึงมีการเลือกสถานที่ตั้งบ้านเรือนแตกต่างกันไปตามสถานที่