Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้สูงอายุ, นางสาวนิสรีน เขียวแพร รหัสนักศึกษา634N46…
การสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้สูงอายุ
ความหมาย
บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป องค์การอนามัยโลก (WHO, 2006) ได้ให้ความหมายสุขภาพของผู้สูงอายุว่า หมายถึงสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สามารถดํารงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีและพึ่งพาตนเองเองได้
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากความชราที่มีผลต่อปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของผู้สูงอายุทั้งทางกายวิภาคและสรีรวิทยา
ระบบผิวหนัง
ระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบประสาท
ระบบประสาทสัมผัส
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบขับถ่ายและระบบสืบพันธุ์
ระบบภูมิคุ้มกัน
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางครอบครัวและสังคม
การปลดเกษียณหรือการออกจากงาน
ปัญหาความเจ็บป่วยเรื้อรัง
ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ
ปัญหาการเดินและการทรงตัว
ภาวะขาดสารอาหาร
ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
ปัญหาการนอนหลับ
โรคกระดูกพรุน
โรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
ภาวะซึมเศร้า
ภาวะสมองเสื่อม
พฤติกรรมเสี่ยงที่เป็นอันตรายต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
พฤติกรรมการเคลื่อนไหวออกแรงและออกกำลังกายลดลง
พฤติกรรมบริโภคอาหารไม่เหมาะสม
พฤติกรรมการจัดการความเครียดไม่เหมาะสม
พฤติกรรมความรับผิดชอบต่อสุขภาพไม่เหมาะสม
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุนอกจากจะขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านกระบวนการความชราและปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุเองแล้ว ยังมีปัจจัยด้านสังคมที่เกี่ยวข้องคือนโยบายสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุที่มีจุดมุ่งหมายเน้นบทบาทของสถาบันทางสังคม ชุมชน เครือข่ายทั้งภาครัฐและ ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการคุ้มครองทางสังคม
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ทฤษฎีการสร้างเสริมพลังอำนาจ (theory of empowerment)
ทฤษฎีบทบาททางสังคม (role theory)
ทฤษฎีความสามารถของตนเอง (the theory of self-efficacy)
แนวคิดพฤฒพลัง (active aging)
กลวิธีการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
กลวิธีสร้างแรงจูงใจร่วมกับการพัฒนาทักษะ
การสอนสุขศึกษา (health education)
การเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถตนเอง
การสร้างเสริมพลังอำนาจ (empowerment)
กลวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
การสร้างเสริมพฤติกรรมออกกำลังกาย
การสร้างเสริมพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหาร
การสร้างเสริมศักยภาพในการจัดการกับความเครียด
บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ประสานความร่วมมือระหว่างทีมสุขภาพกับหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชน
สร้างคุณค่าและแรงจูงใจให้ผู้สูงอายุ
สอนและให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ให้คำปรึกษา
ประเมินสุขภาพของผู้สูงอายุ
สร้างสัมพันธภาพ
นางสาวนิสรีน เขียวแพร รหัสนักศึกษา634N46116