Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยรุ่น, นางสาวชลนิภา กัมทอง รหัสนักศึกษา :…
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยรุ่น
ด้านจิตใจ
สับสนในภาพลักษณ์ของตน
สับสนในบทบาททางสังคม
การทะเลาะวิวาท
ปัญหาการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น
ด้านจิตวิญญาณ
การใช้สารเสพติด
ความขัดแย้งทางคุณธรรม
ด้านสังคม
ปัญหารการเข้าสังคม
การฝืนกฎระเบียบ
ด้านร่างกาย
ปัญหาด้านสุขภาพปากและฟัน
ปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ปัญหาจากการออกกำลังกาย
การขาดการออกกำลังกาย
การบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย
ปัญหาต่อมเหงื่อและต่อมไขมันทำงานมากขึ้น
กลิ่นตัว
สิว
ความผิดปกติกับฮอร์โมน
ความผิดปกติของอวัยวะสืบพันธ์
การมีประจำเดือนล่าช้า
การมีเต้านมโตของเพศชาย
ปวดประจำเดือน
ปัญหาการรับประทานอาหาร
ปัญหาอุบัติเหตุจากการจารจร
ความไม่อยากอาหาร (Anorexia Nerosal)
อาการหิวผิดปกติ (Bulimia Nervosa)
ภาวะอ้วน (Obesity)
บทบาทของพยาบาลกับกลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพวัยรุ่น
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับวัยรุ่นและครอบครัวยอมรับในความเป็นตัวตนของวัยรุ่น
จัดให้มีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพของวัยรุ่นในโรงเรียนและสถานศึกษาต่างๆ
สนับสนุนให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
สร้างบรรยากาศให้ครอบครัวอบอุ่นปลอดภัยและเป็นที่พึ่งใต้ตลอดเวลาจัดให้มีการทำกิจกรรมร่วมกันของสมาชิกในครอบครัวอย่างมีคุณภาพ
สนับสนุนให้มีการเสริมสร้างพลังอำนาจในตนเองการสร้างเอกลักษณ์แห่งตนการมีความรู้จักมีคุณค่าในตัวเองและการพัฒนาทักษะชีวิตต่างๆ
ระยะของวัยรุ่น
การเข้าสู่วัยรุ่นขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาการของบุคคลเป็นสำคัญตลอดจนความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัยรุ่น
วัยรุ่นหมายถึงวัยที่ก้าวย่างเข้าสู่วุฒิภาวะการเพศอย่างสมบูรณ์สามารถเป็นบิดามารดาได้มีอายุ
ระหว่าง 13-21ปีซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมสติปญญาและศีลธรรม
พัฒนาการของวัยรุ่น
ด้านร่างกาย
เด็กหญิงสูงเพิ่มขึ้นเร็วมากในช่วงอายุ 10-12 ปีสูงขึ้นเฉลี่ยปีละ 8 เซนติเมตรเด็กชายสูงเร็วมากในช่วงอายุ 13-16 ปีสูงขึ้นเฉลี่ยปีละ 10 เซนติเมตรน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วอายุ 15 ปีน้ำหนักเป็น 15 เท่าของแรกเกิดตกประมาณ 50 กิโลกรัม
ด้านอารมณ์จิตใจ
อารมณ์วัยรุ่นจะเป็นช่วงอารมณ์หวั่นไหวเปลี่ยนแปลงง่ายอารมณ์รุนแรงไม่คงที่ไม่สม่ำเสมออารมณ์ค้างหงุดหงิดกับความเปลี่ยนแปลงที่ยังยอมรับไม่ได้โดยเฉพาะวัยรุ่นตอนต้นมักมีอารมณ์รุ่นแรงเปลี่ยนแปลงง่ายในระยะวัยรุ่นตอนปลายจะมีการเรียนจากสังคม
ด้านสังคม
ต้องการเป็นที่ยอมรับของเพื่อนกลุ่มเพื่อนคือกลุ่มที่สังคมที่สำคัญที่สุดและมีอิทธิพลมากเชื่อและรับฟังเพื่อนมากกว่าพ่อแม่วัยรุ่นจะรวมกลุ่มกันสร้างกฎระเบียบประเพณีภาษาการแต่งกายการแสดงออกเป็นอันหนึ่งอันเดียว
ด้านสติปัญญา
ช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงของหมองจาการได้รับฮอร์โมนทางเพศทำให้มีความต้องการทางเพศการแสวงหาความตื่นเต้นตลอดจนความรุนแรง การที่มีการสร้างใยประสาทอย่างมากมายในช่วงต้นของวัยรุ่นทำให้เกิดความสับสนในการประสมทั้งการ
ด้านคุณธรรม
ทำความดีให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อนหรือตามกฎระเบียบของสังคมกลุ่มเพื่อนและความคาดหวังของครอบครัวหากกฎระเบียบของกลุ่มเพื่อนไม่เหมาะสมไม่เป็นไปตามค่านิยมประเพณีหรือกฎหมายจะทำให้วัยรุ่นเกิดความขัดแย้งระหว่างศีล ธรรมที่เป็นสากล
การประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น
แนวทางการประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยรุ่น
สิ่งที่ต้องค่านึ่งเกี่ยวกับการประเมินสุขภาพเด็กวัยรุ่น
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพวัยรุ่น
ด้านจิตวิญญาณ
ส่งเสริมการเข้าถึงที่พึ่งทางจิตวิญญาณ
การพัฒนาทักษะการป้องกันปัญหาการใช้สารเสพติด
ด้านสังคม
พัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในครอบครัว
ส่งเสริมการเข้าสังคมกับเพื่อนฝูงที่ดีเช้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์สร้างสรรค์
ส่งเสริมการปรับตัวและความยืดหยุ่น
เปิดโอกาสให้วัยรุ่นได้มีเวลาส่วนตัว
เพิ่มทักษะชีวิตให้วัยรุ่น
ส่งเสริมให้รู้จักแหล่งบริการสำหรับวัยรุ่นและการเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมต่างๆ
ด้านจิตใจ
การพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเอง
ลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตา
ด้านร่างกาย
ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับวัยรุ่นและปัญหาสสุขภาพที่พบบ่อย
ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย
ส่งเสริมการออกกำลังกาย
ส่งเสริมความรู้เรื่องเพศศึกษา
ส่งเสริมความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ส่งเสริมความรู้เรื่องการคุมกำเนิดในวัยรุ่น
การป้องกันอุบัติเหตุและอันตราย
นางสาวชลนิภา กัมทอง
รหัสนักศึกษา : 634N46207