Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด ( Drug administration ), นางสาววิมลสิริ กะหมาย 6203400006 -…
การบริหารยาฉีด ( Drug administration )
Parenteral route
IV ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ ออกฤทธิ์เร็วมาก
ID ฉีดเข้าชั้นผิวหนัง
Sc./ H ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
IM ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
Solution : ออกฤทธิ์ช้ากว่า IV
Suspension : ออกฤทธิ์ช้า แต่นาน
ID => test TB , skin test , ให้ BCG , ยาชาเฉพาะที่
เข็ม เบอร์ 25 หรือ 27
เทคนิคการฉีด ID
ดึงผิวหนังให้ตึง ถ้าฉีดที่ต้นแขนด้านใน ให้เอามือรองแขนpt แล้วใช้นิ้วโป้งดึงเนื้อให้ตึง
แทงเข็มเข้าชั้นนอกของผิวหนัง มุม
10-15 องศา
ให้เข็มขนานกับผิวหนัง จนปลายตัดเข็มเข้าผิวหนังจนสุด
ดันลูกสูบช้าๆ น้ำยาจะเข้าไปในผิวหนังเกิดเป็น
รอยนูน ( Wheal)
ถอนเข็มออก ใช้สำลีกด หากมีเลือดออก
Sc. => วัคซีน , ยาเตรียมก่อนผ่าตัด , ยาแก้ปวด ให้ครั้งละ 0.5 ไม่เกิน 1.5 ml
ตำแหน่งที่ฉีด
=> ต้นแขนด้านนอก (Deltoid muscle)
=> ต้นแขนด้านหลัง แบ่งต้นแขนจากปุ่น Acromion เป็น 3 ส่วน ตน.ฉีดยา จะอยู่ส่วนกลางด้านหลังของต้นแขน เหนือ Triceps brachi muscle
=> ต้นขาด้านหน้าข้างนอกลำตัว เหนือข้อเข่า 1 ฝ่ามือ และต่ำจากขาหนีบ 1 ฝ่ามือ บริเวณที่ฉีดอยู่เหนือกล้ามเนื้อต้นขาด้านข้าง และกล้ามเนื้อต้นขาด้านข้าง
=> หน้าท้องข้างสะดือ เหนือกล้ามเนื้อหน้าท้อง ( Rectus abdominis muscle)
ในเด็ก ไม่นิยมฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เพราะเด็กมีไขมันใต้ผิวหนังน้อย
เทคนิคการฉีด
ดึงผิวหนังให้ตึง
ทำมุม 45 องศา ลึก 5/8 - 1/2 นิ้ว
ดึงไซริงขึ้นเล็กน้อย เพื่อทดสอบว่าไม่ได้อยู่ในหลอดเลือด และดันยาเข้า
ใช้สำลีแห้งกด คลึงบริเวณนั้น
IM
ตำแหน่ง
=> :check: Deltoid muscle กล้ามเนื้อต้นแขน
ยาไม่เกิน 2 cc
ไม่นิยมฉีดในเด็ก<2ปี
ฉีดบริเวณล่างกระดูก Acromion process ลงมา 2-3 นิ้วมือ
=> :check: Gluteus muscle กล้ามเนื้อสะโพก
ด้านหน้า
ปลอดภัยกว่า deltiod เพราะห่างจาก Sciatic nerve และ หลอดเลือดใหญ่ Gluteus medius Gluteus minimus
วางมือทาบขา นิ้วชี้อยู่บริเวณกระดูกเชิงกรานด้านหน้า นิวกลางไปตามขอบให้ไกลที่สุด ทำเป็น V shaped แล้วฉีดตรงกลาง
ด้านหลัง
เสี่ยงต่อการถูกเส้นประสาท Sciatic ทำให้เกิดอัมพาตที่ขา
วัดจาก ปุ่มกระดูกเชิงการบนด้านหลัง ไปปุ่มกระดูกต้นขา จะขนานกับ sciatic ฉีดบริเวรเหนือเส้นสมมติ และต่ำจากขอบกระดูกเชิงกราน 2 นิ้ว เยื้องออกด้านนอก
=> :check: Vastus lateralis muscle , Rectus femoris muscle กล้ามเนื้อต้นขา
นิยมฉีดในเด็กเล็ก<2 ปี ไม่มีหลอดเลือดใหญ่ ยาดูดซีมได้เร็ว
วัดจากเหนือเข่า - ปุ่มกระดูกต้นขา แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ฉีดส่วนกลาง เยื้องออกด้านนอก
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อวิธีซิกแซก
ยาที่มีการระคายเคือง
=> Imferon , Bismuth
ต้องฉีดให้น้ำยาอยู่ในชั้นกล้ามเนื้อจริง ๆ
ต้องทำให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อชั้นใต้ผิวหนังเคลื่อนจากต่ำแหน่งเดิม 1-1.6 นิ้ว
ตำแหน่งที่นิวยมคือ
กล้ามเนื้อสะโพกด้านหลัง
วิธีการวัด
วางสันมือด้านที่ไม่ถนัดใกล้บริเวณที่จะฉีด กดและดันผิวหนังใค้สันมือไปด้านข้างลำตัว
ดันยาหมด
ควรรอ 10 วิ เพื่อป้องกันการซึมของยา
ถอดเข็ม ค่อยปล่อยมือที่ดัน
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ดึงผิวหนังให้ดึง
แทงเข็มลงไปในชั้นกล้ามเนื้อ
ทดสอบว่าเป็นหลอดเลือดหรือไม่ จึงฉีด
4, วางสำลีแห้งบริเวณเข็มและถอนเข็มโดยเร็ว
เกณฑ์การเลือกตำแหน่งฉีดยา
กล้ามเนื้อต้นแขน < 2 ml อายุ > 6 ปี
กล้ามเนื้อต้นขาด้านข้าง < 2 ml อายุ < 3 ปี
กล้ามเนื้อตะโพกด้านหลัง < 5 ml อายุ > 6 ปี
กล้ามเนื้อตะโพกด้านข้าง < 5 ml อายุ > ทารกตัวโต ผู้ใหญ่ผอม
ขั้นตอนการเตรียมการฉีดยา
ซักถามประวัติแพ้ยาของpt
อ่านและตรวจสอบรายละเอียดบนขวดยา ชื่อ วิถีทาง Exp.
ศึกษาเกี่ยวกับขนาด อาการข้างเคียง วิธีใช้ยา
คำนวณปริมาณยาฉีดอย่างเหมาะสมกับผู้ป่วย
ดูแลบริเวณสำหรับเตรียมยาให้สะอาด แห้ง แสงสว่าง
ตรวจดูความพร้อมของเครื่องมือ
ล้างมือให้สะอาด
การเตรียมยาจาก Ampule
เคาะหลอดยาเพื่อไล่ยาลงมาที่ขวดให้หมด
เช็ดคอคอด
เลื่อย หรือ หักคอคอดได้เลย
เตรียม syring + เข็มเบอร์ 18-20
ดูดยาตามปริมาณที่ต้องการ
ตรวจสอบว่ามีอากาศเหลือค้างใน syring หรือไม่ ก่อนฉีดยาเข้าสู่ตัวผู้ป่วย
การเตรียมยาจากขวด vial
แกะฝาพลาสติกออก
เช็ดจุกยาง
เปิด amp น้ำยาผสม หรือดูดจากน้ำเกลือขวดเล็ก
ดูดน้ำยาผสมลงในขวดยาผง ดูดอากาศออก
เขย่าให้ผงยาละลายเข้ากัน
หากดึงเข็มออกตอนเขย่า ตอนใส่ใหม่ให้ดูดอากาศเท่ากับปริมาตรที่ต้องการ เช็ดจุกยาง แทงเข็มเข้าบริเวณตำแหน่งเดิม
-
ตรวจสอบว่ามีอากาศเหลือค้างใน syring หรือไม่ ก่อนให้ผู้ป่วย
Label ชื่อยา ขนาด ชื่อ-สกุล ติดสติ๊กเกอร์ชื่อpt วางลงในถาดให้เรียบร้อย
ขั้นตอนการฉีดยา
นำยาที่เตรียมแล้วไปที่เตียง pt ตรวจสอบชื่อ-สกุล ให้ตรงกับใบ MAR
บอกให้ผู้ป่วยทราบ จัดท่า เปิดบริเวณที่จะฉีด
ทำความสะอาด เป็นวง 2-3 นิ้ว
ถอดปลอดเข็ม และหมุนเข็มให้แน่น ไล่อากาศออกจากกระบอก
ทดสอบว่าอยุ่ในหลอดเลือดหรือไม่
ุฉีดยาตามวิธีของแต่ละตำแหน่ง
6.ใช้สำลีแห้งกดบริเวณที่ฉีด
คลึงบริเวณที่ฉีด บกเว้น อินซูลิน เฮปาริน
จัดท่าให้สุขสบาย ทำความสะอาด เก็บชอง
บันทึกลงใบ MAR
การให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำ 1. พิมพ์สติ๊กเกอร์ยาฉีด 2. Recheck สติ๊กเกอร์กับใบ MAR ก่อนเตรียมยา 3. ติดสติ๊กเกอร์ยาฉีดที่กระบอกฉีดยาที่ผสมแล้ว 4. Recheck ยากับใบ MAR ก่อนให้ยา 5. สอบถามประวัติการแพ้ยา 6. Identify ผู้ป่วย ก่อนให้ยา 7. ลงเวลาที่ให้ยาและเซ็นชื่อพยาบาลผู้ให้ยา 8. ประเมิน SE หลังให้ยา
การให้ยาทางหลอดเลือดดำ
การฉีดเข้าหลอดเลือดดำโดยตรง
ฉีดผ่านชุด heparin lock
ฉีดผ่านชุดให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้ยาทางหลอดเลือดดำเป็นหยด
การป้องกันอันตรายจากการฉีดยา
ยึดหลัก10 R
อ่านฉลากยา 3 ครั้ง คือ ก่อนหยิบ ก่อนดูดยา ก่อนทิ้งขวด
เปิดบริเวณที่ฉีดยาให้กว้างพอ
Aseptic technique / Sterrile technique
หมุนเวียนตำแหน่งฉีดยา
ผ่อนคลายความวิตกกังวล บอกให้ทราบว่าจะทำอะไร ผล และท่าทีที่มั่นใจและให้กำลังใจ
Alcocol แห้งก่อนจึงแทงเข็ม
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้จากการให้ IV
Dehydration
=> จากสารน้ำชดเชยไม่เพียงพอ ริมฝีปากแห้ง urine น้อย BPต่ำ Pluse ต่ำ
รีบรายงานแพทย์
Electrolyte imbalance ภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย
=> สารน้ำในร่างกายน้อยหรือมากเกินไป อาการคือภาวะจิตเปลี่ยนแปลง V/S เปลี่ยนแปลง
ควร V/S รายงานแพทย์
การติดเชื้อ
=> ปวด บวม แดง ร้อน หนอง
หยุดให้สานน้ำ รายงานแพทย์ เปลี่ยนตำแหน่ง
Phlebitis หลอดเลือดดำอักเสบ
หยุดให้สารน้ำ ประคบอุ่น เปลี่ยนตำแหน่ง ให้สารน้ำในระดับที่มากกว่า รายงานแพทย์
=> Septicemia มีไข้สูง หนาวสั่น BP ต่ำ N/V มีการติดเชื้อเฉพาะที่ร่วมด้วย
การพยาบาล รายงานแพทย์ ตรวจสอบ V/S
=> Pyrogen reaction ไข้ หนาวสั่น
การพยาบาล หยุดให้สารน้ำ เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ ให้การพยาบาบตามอาการ => ให้O2 ตรวจสอบ V/S รายงานแพทย์ เตรียมรถฉุกเฉิน
Embolisn ( มีฟองอากาศเข้าไปอยู่ในหลอดเลือด)
=> เกิดลิ่มเลือด หายใจลำบาก ชีพจรเบาเร็ว BPลดลง หมดสติ
หยุดให้สารน้ำ จัดท่านอนตะแคงซ้านหัวต่ำ ให้ O2 ตรวจสอบV/S รายงานแพทย์
Infiltration มีสารน้ำซึมอยู่ในเนื้อเยื่อ
=> บวม เย็น เจ็บ น้ำเกลือไหลช้า
หยุดให้สารน้ำ ยกแขนสูง ประคบอุ่น เปลี่ยตำแหน่งให้
Fluid overload
=> รู้สึกไม่สบายตัว กระสับกระส่าย เล่นเลือดดำที่คอโป่ง ได้ยินเสียง Crackles หายใจสั้น ลำบาก บวม BP สูง
ลดการให้สารน้ำ จัดท่าศีรษะสูง ให้ O2 ประเมิณ V/S รายงานแพทย์ ดูการเปลี่ยนแปลง
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้การพยาบาลโดยเคร่งตรัดโดยเทคนิคปราศจากเชื้อ
ตรวจสอบว่ามีฟองอากาศอยู่หรือไม่
ตรวจสอบอัตราหยดทุก 1 Hr
เปลี่ยชุดให้สารน้ำทุก 3 วัน
เปลี่ยนขวดสารน้ำด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ
การหยุดให้สารน้ำตามคำสั่งการรักษา
การให้เลือด Blood transfusfusion
การเตรียมการให้เลือด
ตรวจสอบหมู่เลือด และ cross-matching
ขอเลือดจากธนาคาร ให้ตรงกับคำสั่งการรักษา
ตรวจสอบเลือด
3.1 ชื่อ-สกุล HN ชนิดของเลือด หมู่เลือด นามผู้บริจาค ให้ข้อมูลตรงกับใบขอเลือด วันExp. ตรวจสอบซ้ำ 3 ครั้ง โดยพยาบาล 2 คน
3.2 ตรวจสอบลักษณะเลือด ไม่สีผิดปกติ ไม่ขุ่น ไม่มีฟอง
3.3 เลือดที่มาจากธนาคารเลือดควรอุ่น หากไม่อุ่นให้ตั้งไว้ในอุณหภูมิห้องก่อน
ห้ามเติมยา หรือสารใดๆ ในเลือด และไม่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ยกเว้น 0.9%NSS
การให้เลือด
ตรวจสอบ v/s ก่อนให้เลือด
เลือดที่มาจากธนาคารเลือด ต้องให้ pt ภายใน 30 นาที
พลิกถุงไปมา เบาๆ
Rate เม็ดเลือดแดง 1.30-4 Hrs. พลาสม่า 2-3 Hrs. เม็ดเลือดขาว และ เกร็ดเลือด 10 นาที โดย 15 นาทีแรกให้ 10-20 หยด/นาที หลังจากนั้นเป็น 100 ml/hr.
วัดสัญญาณชีพ 15 นาที x 4 ครั้ง และทุกชั่วโมง
เปลี่ยนชุดให้เลือดทุกครั้ง ป้กงกันลิ่มเลือดเข้าหลอดเลือดดำ
หยุดให้เลือดเมื่อครบหรือมีอาการแทรกซ้อน
หนาวสั่น ผื่น หายใจไม่สะดวก
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemmolysis) =>หนาว สั่น มีไข้ ปวดหัว ปวดหลังเอว กระสับกระส่าย ฉี่เป็นเลือด ฉี่ไม่ออก ตัวตาเหลือง หายใจลำบาก เจ็บแน่นหน้าอก หลอดเลือดแฟบ BPต่ำ ชีพจรเร็ว
=> สังเกตุการให้เลือดในระยะ 30 นาทีแรก
หยุดให้เลือด ให้O2 นอนหัวต่ำกว่าเท้า
ปริมาณการไหลเวียนของเลือด มากกว่าปกติในระบบไหลเวียน
=> หายใจลำบาก เหนื่อย หอบ ไอ หลอดเลือดดำโป่ง แรงดันเลือดสูง
=> ให้เลือดในปริมาณที่เหมาะสม
ลดอัตราการหยดของเลือด หัวสูง ให้ O2 รายงานแพทย์
ไข้
=> 2 นาทีแรก - 6 hrs. มีไข้ 38.4 ขึ้นไป หนาวสั่น ปวดหัว n/v ท้องเสีย ปวดท้อง สับสน BPต่ำลง ชีพจรเร็ว เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก
หยุดให้เลือด ให้ NSS V/S รายงานแพทย์
เกิดการแพ้
=> มีผื่น คั่งในจมูก หลอดลมบีบเกร็ง หายใจลำบาก ปอดมีเสียง Wheeze หยุดให้เลือด V/S รายงานแพทย์
การถ่ายโรคติดเชื้อ
ฟองอากาศเค้าไปในหลอดเลือด
สารซีเตรทเกิน เป็นตะคิว เจ็บปลายนี้ ลมชัก กล่องเสียงเกร็ง
โปตัสเซียมสูง
=> N/V ท้องเดิน กล้ามเนื้ออ่อนแรง ใบหน้า มือ จา ชีพจรเบา หัวใจหยุดเต้น
นางสาววิมลสิริ กะหมาย 6203400006