Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 โครงสร้างและสมบัติของวัสดุ - Coggle Diagram
บทที่ 2 โครงสร้างและสมบัติของวัสดุ
โครงสร้างของโลหะ(Structure of Metals)
เกรนและขอบเกรน
ความไม่สมบูรณ์ของโครงสร้างผลึก
ความไม่สมบูรณ์แบบจุด(Point defect)
จุดบกพร่องแบบเฟรนเคล(Frenkel)
จุดบกพร่องแบบช็อตต์กี(Schottky)
การแทนที่ของอะตอม(Substitutional defect)
การแทรกที่ของอะตอม(Interstitial defect)
การเกิดช่องว่าง(Vacancy)
ความไม่สมบูรณ์แบบเส้น(Line defect)
แนวบกพร่องแบบขอบ(Edge dislocation)
แนวบกพร่องแบบเกลียว(Screw dislocation)
ความไม่สมบูรณ์แบบระนาบ(Planar defect)
การคืนตัว การเกิดผลึกใหม่ และการเติบโตของเกรน
การเกิดผลึกใหม่(Recrystallization)
การคืนตัว(Recovery)
การเติบโตของเกรน(Grain growth)
โครงสร้างผลึกพื้นฐานของโหะ
ระบบผลึกแบบเฟซ-เซ็นเตอร์-คิวบิก(FCC)
ระบบผลึกแบบเฮกซะโกนอล-ลอส-แพ็ค(HCP)
ระบบผลึกแบบอดี-เซ็นเตอร์-คิวบิก(BCC)
การขึ้นรูปร้อนและการขึ้นรูปเย็น
การขึ้นรูปร้อน(Hot working)
การขึ้นรูปเย็น(Cold working)
การเปลี่ยนรูปอย่างถาวรของโลหะ
การเปลี่ยนรูปโดยการบิดของโลหะผลึกเดี่ยว
การเปลี่ยนรูปอย่างถาวรของโลหะพหุผลึก
การเปลี่ยนรูปโดยการเลื่อนของโลหะผลึกเดี่ยว
สมบัติทางเคมีของวัสดุ
การเกิดออกซิเดชัน(Oxidation)
โลหะอาจทำปฏิกิริยากับออกซิเจนแล้วเกิดออกไซด์ขึ้นที่ผิว ปฏิกิริยาทีเกิดขึ้นจะแตกต่างกันไปตามชนิดของโลหะ
การกัดกร่อน(Corrosion)
แอโนด(Anode)
เป็นฝ่ายที่ให้อิเล็กตรอนและเกิดการกัดกร่อน โดยแอโนดซึ่งเป็นโลหะจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดซันโดยอะตอมจะถูกไอออไนซ์หรือถูกทำให้กลายเป็นไอออน
แคโทด(Cathode)
เป็นฝ่ายที่รับอิเล็กตรอน ไอออนที่ประกอบด้วยอิเล็กตรอน จะทำให้เกิดผลพลอยได้ที่ขั้วแคโทด
การกัดกร่อนแบบไฟฟ้าเคมี
เป็นกระบวนการการกัดกร่อนที่พบมากที่สุดกับวัสดุกลุ่มโลหะ เกิดเมื่ออะตอมของโลหะเกิดการสูญเสียอิเล็กตรอนไปกลายเป็นไอออน
สมบัติทางกายภาพของวัสดุ
ความหนาแน่น
สมบัติทางความร้อน
ความร้อนจำเพาะ
การขยายตัวเนื่องจากความร้อน
ความจุความร้อน
การนำความร้อน
จุดหลอมเหลว
สมบัติทางไฟฟ้า แม่เหล็ก และแสง
สมบัติทางแสง
การดูดซับ
การส่องผ่านของแสง
การสะท้อน
การเรืองแสง
การหักเก
สมบัติทางไฟฟ้า
ไดอิเล็กทริก คือ สารที่ปราศจากอิเล็กรอนอิสระหรือมีอิเล็กตรอนจำนวนนอยมากจึงต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า
ค่าคงที่ไดอิเล็กทริก คือ อัตราส่วนระหว่างค่าความจุของตัวเก็บประจุที่ใช้วัสดุไดอิเล็กทริกมาคั่นระหว่างแผ่นโลหะและค่าความจุของตัวเก็บประจุขณะที่ระหว่างแผ่นโลหะเป็นสุญญากาศ
สภาพการนำไฟฟ้าของวัสดุ คือ การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่งโดยมีตัวพาประจุ
สภาพเพียโซอิเล็กทริก คือ เมื่อเราทำให้ขนาดของวัสดุไดอิเล็กทริกเกิดความเ้น จะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าขึ้นมา
สมบัติทางแม่เหล็ก
สภาพแม่เหล็กแบบพารา(Paeamagnetism)
สภาพแม่เหล็กแบบเฟอร์โร(Ferromagnetism)
สมบัติทางกลและการทดสอบ
ความเค้นกับความเครียด
ความเค้น(Stress)
ความเค้นอัด(Compressive stress)
ความเค้นเฉือน(Shear stress)
ความเค้นดึง(Tensile stress)
ความเครียด(Strain)
ความเครียดยืดหยุ่น(Elastic strain)
ความเครียดถาวร(Plastic strain)
การทดสอบแรงดึง
ขีดจำกัดความยืดหยุ่น
จุกคราก
ขีดจำกัดการแปรผันตรง
จุดแตกหัก
ความต้านทานแรงดึงสูงสุด
การทดสอบความแข็ง
การทดสอบความแข็งแบบวิกเกอร์ส(HV)
การทดสอบความแข็งแบบนูพ(KHN)
การทดสอบความแข็งแบบร็อกเวลล์(HR)
การวัดความแข็งแบบซอร์สเกลโรลสโคป
การวัดความแข็งแบบบริเนลล์(BHN)
การวัดความแข็งแบบสเกลของโมส์
การทดสอบความล้า
เป็นการทดสอบโดยการให้แรงกระทำกับวัสดุในลักษณะซ้ำๆ(Cyclic load) เป็นจำนวนมากครั้ง จนกระทั่งวัสดุเกิดความล้าและแตกหักในที่สุด
การทดสอบการคืบ
ช่วงที่สอง
เป็นช่วงที่มีการยืดตัวออกอย่างสม่ำเสมอ หรือเรียกว่า สถานะคงตัว
ช่วงที่สาม
เป็นช่วงที่อัตราการคืบเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนชิ้นทดสอบเกิดการขาด
ช่วงแรก
เป็นช่วงที่มีการปรับตัวในเนื้อวัสดุ
ความเสียหายของวัสดุ
การแตกหักแบบเหนียว
การแตกหักแบบเปราะ
การแตกหักเนื่องจากความล้า
การทดสอบแรงกระแทก
เป็นการทดสอบเพื่อหาความสามารถในการรับแรงที่มากระทำกับวัสดุด้วยความเร็ว(Dynamic load)