Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคในระบบทางเดินปัสสาวะ, นางสาวนิกข์นิภา ดวงจำปา…
การวินิจฉัยแยกโรคในระบบทางเดินปัสสาวะ
Dysuria
ปวดแสบเวลาถ่ายปัสสาวะ
สาเหตุ
Urethritis หลอดปัสสาวะอักเสบ จาก gonococcal, herpes simplex, Reiter’s syndrome
Vaginitis และการระคายเคืองหลังมีเพศสัมพันธ์ หรือแพ้วัสดุชุดชั้นใน
Acute urethral syndrome เชื้อก่อโรคที่พบบ่อยคือ E.coli
. Prostatitis วินิจฉัยจากส่งสารเหลวจากต่อมลูกหมากไปตรวจ พบ WBCจำนวนมาก (ปกติไม่เกิน 10 HPF)
การติดเชื้อ
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง ได้แก่ cystitis
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน ได้แก่ กรวยไตอักเสบ (pyelonephritis)
Cystitis (กระเพาะปัสสาวะอักเสบ)
สาเหตุ
มักเกิดจากการกลั้นปัสสาวะหรือมีการติดเชื้อในระบบ
ทางเดินปัสสาวะก็ได้
อาการและอาการแสดง
ถ่ายปัสสาวะแสบขัด ถ่ายกะปริดกะปรอย ถ่ายบ่อย ครั้งละน้อยๆ กลั้นปัสสาวะไม่ได้ มีปวดหน่วงใกล้สุด มีอาการเหมือนปัสสาวะไม่สุด
การวินิจฉัย
เก็บปัสสาวะส่งตรวจ
พบเม็ดเลือดขาวมากกว่า 0-5 HPF
เม็ดเลือดแดงอาจพบมากกว่าปกติหรืออยู่ใน เกณฑ์ปกติก็ได้
พบ bacteria พบลักษณะปัสสาวะขุ่น (Turbid)
การรักษา
ถ้าปวดให้ยาแก้ปวด
ให้ยาปฏิชีวนะ cotrimoxazole, amoxicillin หรือ Norfloxacin
ขณะมีอาการให้ดื่มน้ำมาก ๆ
ถ้าไม่ดีขึ้น ส่งโรงพยาบาล เพื่อตรวจหาสาเหตุ
กรวยไตอักเสบ (pyelonephritis)
สาเหตุ
มีการติดเชื้อโดยเฉพาะเชื้อแกรมลบ พบ E.coli มากที่สุด
อาการและอาการแสดง
ปวดบั้นเอวบริเวณ CVA ปวดมากข้างใดข้างหนึ่ง
ไข้สูง หนาวสั่น ถ่ายปัสสาวะแสบขัด สีขุ่น
การวินิจฉัย
มีไข้สูง 39-40 C
ตรวจปัสสาวะพบเม็ดเลือดขาว แบคทีเรีย และ WBC cast
ตรวจร่างกายพบทุบเจ็บบริเวณ CVA เจ็บจนสะดุ้ง
CBC พบ PMN สูง
การรักษา
หากมีอาการรุนแรง เช่น ช็อค ปัสสาวะออกน้อย สงสัย septicemia ให้รีบส่ง รพ.
เมื่อรักษาหายดีแล้ว ต้องตรวจปัสสาวะให้แน่ใจว่าไม่มีการติดเชื้อแล้ว
ให้ยาลดไข้ และยาปฏิชีวนะ เช่น cotrimoxazole, amoxicillin หรือ Norfloxacin
Polyuria
การถ่ายปัสสาวะมากกว่า 3 ลิตรต่อวัน
พบได้ในโรค
เบาจืด จากการขาด ADH
ไตวายเรื้อรังจากภาวะไตไม่สามารถท าให้ปัสสาวะเข้มข้นได้
บาหวาน
การได้รับยาบางชนิด เช่น lithium ยาขับปัสสาวะ
Oliguria and Anuria
Oliguria หมายถึง ภาวะที่ร่างกายขับปัสสาวะได้น้อยกว่า 500ml/day
Anuria หมายถึง ภาวะที่ร่างกายขับปัสสาวะได้น้อยกว่า 100ml/day
สาเหตุ
Renal cause สาเหตุที่ไต เช่น AGN , CRF
Postrenal cause ได้แก่ ต่อมลูกหมากโต นิ่วในท่อไต
Prerenal cause สาเหตุก่อนถึงไต ได้แก่ dehydration
การถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
สภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ
Microscopic hematuria : ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะเล็กน้อย มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นมี RBC> 5 HPF
Gross hematuria : ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะโดยมองเห็นด้วยตาเปล่า
สาเหตุ
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
Acute glomerulonephritis
ภาวะติดเชื้อ
เนื้องอก และมะเร็งของกระเพาะอาหาร
ภยันตรายบริเวณไต
Polycystic kidney
การวินิจฉัย ควรสังเกตอาการถ่ายปัสสาวะดังนี้
ถ้ามีเลือดออกขณะเริ่มปัสสาวะ บ่งบอกว่าเกิดจาก urethra
ถ้ามีเลือดออกตอนสุด บ่งบอกว่าเกิดจากกระเพาะปัสสาวะ
ถ้ามีเลือดออกตลอดการถ่ายปัสสาวะ บ่งบอกว่าเกิดจากไตหรือท่อไต
Acute glomerolonephritis (AGN)
สาเหตุจากการติดเชื้อ Beta hemolytic streptococcal gr. A
ลักษณะทางคลินิก
มักมีประวัติ เจ็บคอ ไข้ต่างๆ มาก่อนมีปัสสาวะเป็นเลือดประมาณ 1 สัปดาห์
มีอาการบวม และปัสสาวะมีสีน้ำล้างเนื้อ
ความดันโลหิตสูง
มีอาการปวดศีรษะ
ปวดบั้นเอว (flank pain) ทุบเจ็บบริเวณ CVA
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Urine exam เป็นตัวบ่งชี้ดีที่ที่สุดโดยจะพบ
ปัสสาวะเป็นเลือด RBC, albumin, RBC. Cast
ผลเลือดมีภาวะ Azotemia คือ BUN และ Cr สูงขึ้น
ASO. titer สูงขึ้น และระดับ Complement C₃ ต่ำตรวจพบ Beta hemolytic streptococcal gr. A จากในคอ
การรักษาและการป้องกัน
ถ้าติดเชื้อ streptococcus ใช้ยากลุ่ม penicilin, cephalosporin โดยให้ 7-10 วัน
Coticosteroid อาจจ าเป็นในรายที่มี Rapidly progressive acute glomerulonephritis
ยาลดความดันในรายที่มีความดันโลหิตสูง
จำกัดอาหารโปรตีนเมื่อมีภาวะ BUN, Cr สูง
จำกัดอาหารโซเดียมในรายที่บวม ร่วมกับการจำกัดน้ำดื่ม
ยาขับปัสสาวะ
การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
นางสาวนิกข์นิภา ดวงจำปา รหัสนักศึกษา 614991047