Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การสร้างเสริมสัมพันธภาพเพื่อการดูแลและให้บริการ - Coggle Diagram
บทที่ 5
การสร้างเสริมสัมพันธภาพเพื่อการดูแลและให้บริการ
5.1 แนวคิด และหลักการสร้างสัมพันธภาพ
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว
◦ 3. Exploitation (ระยะการแก้ปัญหา และใช้ประโยชน์จากแหล่งช่วยเหลือ)
Resolution (ระยะปัญหาคลี่คลาย และยุติสัมพันธภาพ)
◦ 2.Identification (ระยะระบุปัญหา และความต้องการบริการ)
◦ 1.Orientation (ระยะเริ่มต้น)
การตระหนักรู้ในตนเอง และการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
การตระหนักรู้ในตนเอง (Self -Awareness) : รู้เท่าทันอารมณ์
ตัวเอง รู้ถึงสาเหตุที่ท าให้เกิดความรู้สึกนั้นๆ
การใช้ตนเองเพื่อการบำบัด (Therapeutic Use of Self) :พยาบาลจะใช้
ตนเองเป็นเครื่องมือในการบำบัดโดยการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วย
มโนมติพื้นฐานในการรู้จักตนเอง
1.2 อัตมโนทัศน์ (Self Concept) ความคิด การรับรู้ การมองตน
1.3 ความตระหนักรู้ในตนเอง(Self Awareness)
1.1 อัตตา(Self) ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรม
ความตระหนักรู้ในตนเอง และการพัฒนา
ความตระหนักรู้ในตนเอง
ความตระหนักรู้ในตนเองในฐานะบุคคล (Self as a Person)
ความตระหนักรู้ในตนเองในฐานะวิชาชีพ (Self as a Professional)
การพัฒนาการรู้จักตนเอง
ลดส่วนที่เป็
นจดุ บอดและส่วนอวิชชาเพิ่มส่วนที่เปิดเผย และส่วนที่เป็
นความลับ
เครื่องมือที่สำคัญในการ
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การตระหนักรู้ เข้าใจตนเอง พัฒนาตนเอง
การสื่อสารเพื่อการบำบัด
คุณลักษณะของผู้สื่อสารเพื่อการบำบัดที่มีประสิทธิภาพ
ให้เกียรติ เคารพความเป็นบุคคลของผู้ป่วย (Respect)
เป็นผู้ตระหนักรู้เข้าใจตนเอง (Self Awareness)
เข้าใจความรู้สึกผู้ป่วย (Empathy)
ยอมรับผู้ป่วยโดยไม่มีเงื่อนไข (accept)
รู้จักดูแลเอาใจใส่ (Caring)
จริงใจ ไว้วางใจได้(Trust)
มีทัศนคติที่ดี จริงใจไม่เสแสร้ง และไม่อคติต่อผู้ป่วย
องค์ประกอบของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การสร้างความไว้วางใจ ความจริงใจ การเข้าใจถึงความรู้สึกของผู้ป่วย การยอมรับ มีความรู้สึกในแง่ดี ตระหนักรู้ในตนเอง สัมพันธ์ดี ท่าทีเป็นมิตร คิดดีๆกับเขาไว้ก่อน
จุดมุ่งหมายของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ผู้ป่วยสามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดทักษะทางสังคม
ผู้ป่วยรู้จักตนเอง เข้าใจพฤติกรรมของตนเอง มองเห็นปัญหา ยอมรับ
และแก้ไขปัญหาของตนเองได้อย่างมีเหตุผลให้บรรลุเป้าหมายชีวิต
หลักการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การตั้งเป้าหมาย : ชัดเจน มีทิศทางเพื่อการบำบัด
การรักษาความลับ : จรรยาบรรณวิชาชีพ
ความเชื่อถือได้ : ค าพูดที่จริง มีหลักการและเหตุผล
การให้เกียรติ : ผู้ใช้บริการเป็นสำคัญ ให้เกียรติ สุภาพ
การร่วมมือ : ให้ข้อมูล แจ้งวัตถุประสงค์
การรู้จักกัน : สร้างความมั่นใจ ไว้วางใจ แนะนำตนเอง
การสร้างสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ
Goal directed ก าหนดเป้าหมาย
Helping ช่วยเหลือ
Process dynamic กระบวนการแบบไดนามิก
Action – oriented เน้นการกระทำ
Satisfaction gain เพิ่มความพึงพอใจ
Terminated – relationship ยุติ - ความสัมพันธ
5.2 เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
เทคนิคที่ช่วยให้ ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า
Giving information การให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ
ผู้ป่วย
Offering self การเสนอตัวเองให้ความช่วยเหลือผู้ป่วย
ให้เขารับรู้ว่ายังมีคุณค่า
Giving recognition การกล่าวเรียกชื่อทักทาย การ
รู้จัก จำได้ เรียกชื่อเขาได้ถูกต้อง
Accepting การยอมรับสิ่งที่ผู้ป่วยคิด พูด
Closed question คำถามปิดเพื่อรวบรวมข้อมูล
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึก
อธิบายความคิด ความเข้าใจ :
Acknowledge the patient’s feeling เป็นการ
แสดงการรับรู้ความรู้สึกของผู้ป่วย
Giving general lead เป็นการกล่าวนำเพื่อให้ผู้ป่วยพูดต่อ
Using broad opening statement เป็นการใช้ค าพูดในประโยค
ปลายเปิด
Sharing observation เป็นการบอกสิ่งที่พยาบาลสังเกตเห็นจาก การพูดหรือ
การแสดงออกของผู้ป่วย
Using silence การใช้ความเงียบ
Reflecting การสะท้อน ให้ผู้ป่วยเข้าใจ
Reflecting feeling การสะท้อนความรู้สึก
Open question คำถามเปิด
เทคนิคที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจตรงกัน
Paraphrase การทวนซ้ำ
Restating การทวนความ
Focusing การมุ่งความสนใจให้อยู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้
ผู้ป่วยพูดบางประเด็น ให้กระจ่าง
Exploring การสำรวจข้อมูลเพิ่มเติม
Clarifying การขอความกระจ่างในคำพูด
Validation การตรวจสอบความรู้สึก
Suggesting การชี้แนะ
. 8.Present reality การให้ความจริง
Summarizing การสรุป
ปัญหาและการแก้ปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการสื่อสาร : คำที่ขัดขวาง
การใช้คำปลอบใจที่ไม่เหมาะสม “อย่ากังวลใจไปเลย”
การให้คำแนะนำ “คุณควรจะทำ…” “ท าไมคุณไม่ทำอย่างนี้ล่ะ…….”
การขอคำอธิบาย “ทำไมคุณถึงได้ฉุนเฉียว”หรือการไม่อธิบายเหตุผล
การเห็นด้วย/ไม่เห็นด้วยกับผู้ใช้บริการ “ฉันเห็นด้วยกับคุณ”
การกล่าวต าหนิ หรือการแสดงการไม่เห็นด้วยกับผู้ใช้บริการ
การพูดดูหมิ่นความรู้สึกของผู้ใช้บริการ“ฉันรู้ว่าคุณรู้สึกอย่างไร...”
การกล่าวแย้งข้อคิดเห็นของผู้ใช้บริการ “คุณเข้าใจผิดค่ะ”
การกล่าวค าแก้ตัว“โรงพยาบาลของเราเป็นโรงพยาบาลที่ดีมากนะคะ”