Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การวิเคราะห์ภารกิจการเรียนรู้ - Coggle Diagram
บทที่ 9 การวิเคราะห์ภารกิจการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
ระบบข้อถูกและผิดของประโยคเป้าหมายการเรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง
จำและเขียนชนิดการวิเคราะห์ภารกิจการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
จำและเขียนเป้าหมายการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
ดำเนินการวิเคราะห์ภารกิจการเรียนรู้ของเป้าหมายการเรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจการเรียนรู้กับเป้าหมายการเรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของการวิเคราะห์ภารกิจการเรียนรู้กับเป้าหมายการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
ชนิดของการวิเคราะเป้าหมายการเรียนรู้
การแบ่งชั้นภารกิจการกระทำ (Task classification)
การวิเคราะห์กระบวนการประมวลเนื้อหา
(Information - processing analysis)
การวิเคราะห์ภารกิจการกระทำ (Task analysis)
การวิเคราะห์ความรู้ก่อนเรียน
(Prerequisite analysis)
การวิเคราะห์ภารกิจ
การวิเคราะห์หัวข้อ
การวิเคราะห์ลำดับที่ 1 แยกความแตกต่าง
เข้าใจหัวข้อที่จะเรียบเรียงเนื้อหา
ทุกระดับของการเรียงลำดับเข้ากันได้กับหลักการศึกษา
มีการเรียงลำดับปรากฎการณ์นั้นชัดเจน
จัดทำเป็นโคงสร้างการจัดหมวดหมู่ของ Bloom
การวิเคราะห์ระดับที่ 2 ดำเนินการตามลำดับที่1
กรณีวิเคราะห์ภาระกิจคือ ภารกิจที่มีค่าต่อการสอนคือสามารถเปลี่ยนรูปเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ได้
3.ทดสอบองค์ประกอบของภารกิจและหัวข้อ
เข้าสู่กระบวนการแยกหัวข้อและภาระกิจ
6.จุดประสงค์ระดับต่ำ ให้นำมาเปรียบเทียบกับประชากรเป้าหมายที่กำหนดในจุดประสงค์นำทาง
แบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ส่วน
การวิเคราะห์หัวข้อ
การวิเคราะห์ภารกิจ
5.กรณีวิเคราะห์หัวข้อหัวข้อที่มีค่าต่อการสอนคือจะเปลี่ยนรูปแบบจุดประสงค์
การวิเคราะห์ระดับที่ 3
นำแนวคิดของการจัดหมวดหมู่มาจำแนกภารกิจ หัวข้อ
ให้เห็นยุทธศาสตร์การสอน
แนวคิด Bloom
ทักษะพิสัย (Psychomotor Domian)
เจตพิสัย (Affective Domain)
ด้านพุทธพิสัย (Cognitive Domain)
แนวคิด Gagne (1970)
ความจำ Retention
ข้อมูลย้อนกลับ (feedback
ความรู้ที่เรียนมา Acquisition
การกระทำ Performance
ความเข้าใจ Apprehending
แรงจูงใจ Motivation
การเรียกความจำ Recall
แนวคิด Gagne (1965)
การเรียนรู้ด้วยภาษา (verbal association learning
การเรียนรู้มโนทัศน์ (concept learning)
การเรียนรู้เชิ่อมโยง (simple chaining learning)
การเรียนรู้ความแตกต่าง (Discrimination learning)
การเรียนรู้จากสิ่งเร้า (stimulus learning)
การแก้ปัญหา (Problem solving learning)
การเรียนรู้สัญญาณ (signal learning)
การเรียนรู้กฎ (Rule learning)
แนวคิด Gagne (1960)
ทักษะทางปัญญา (intellect skills)
ยุทธศาสตร์การคิด (cognitive strategies)
เจตคติ (Attitudinal)
การเรียนรู้ทางสารสนเทศ (verbal)
ทักษะทางกลไก (mortor skills
แนวคิดการเรียนรู้ Mager & Beach
การแก้ปัญหา
เรียกความจำ
การนำไปใช้
เรียนรู้ความแตกต่าง
การพูด
จำแนกระดับชั้นการเรียนรู้ cramp model
เจตคติ
การจำ
ทักษะสะท้อน
กระบวนการ
แบบเข้าใจ
การวิเคราะห์ลำดับที่ 4 การจับคู่วัตถุประสงค์ที่ตรงกับบทเรียน เรียกว่า ระดับเทคนิคการสอน
การวิเคราะห์เชิงลึก
การวิเคราะห์ทางกลไก
การวิเคราะห์ทางกระบวนการ