Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ และวงจรชีวิตการพัฒนาระบบสารสนทศ (SDLC) - Coggle…
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
และวงจรชีวิตการพัฒนาระบบสารสนทศ (SDLC)
ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ
สารสนเทศ
Project
Sponsor
เป็นคนสำคัญในการอำนวยการของ
โครงการนี้
Steering
Team
ช่วยให้คำแนะนำและ
สนับสนุนโครงการ
Programmer
ผู้เชี่ยวชาญด้านการปรับเปลี่ยนหรือ
พัฒนาโปรแกรม
Technical
Specialists
เป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆแล้วแต่
โครงการนั้นๆ
Systems
Analyst
ผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ระบบธุรกิจ
User
ผู้ที่โต้ตอบกับระบบ
Stake holders
คนที่ท้ายที่สุดแล้วจะได้รับผลกระทบ
ไม่ว่าจะดีหรือร้าย
Project Manager
ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากองค์กรเพื่อทำให้
โครงการถึงเป้าหมาย
การออกแบบระบบสารสนเทศ
การออกแบบฐานข้อมูล
เป็นกระบวนการในการดัดเเปลงโครงสร้างข้อมูล
ที่ซับซ้อนให้เป็นโครงสร้างที่เรียบง่าย
การออกแบบส่วนต่อประสานของมนุษย์
แนวคิดการออกแบบฟอร์มและรางาน
รวบรวมข้อมูล
เป็นข้อมูลที่จำเป็นและใช้งานได้ง่าย
ปรับสมดุลเค้าโครง
สมดุลของหน้าจอ ใช้ระยะขอบที่เหมาะสม
ข้อมูลในช่องควรมีป้ายกำกับ
ใช้ชื่อที่มีความหมาย/ถูกต้อง
ใส่วันที่หรือรหัส เพื่อให้เห็นความแตกต่าง
วันที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง
ชื่อเรื่องชัดเจน
แนวคิดการแสดงตารางรายการและตาราง
จัดรูปแบบข้อความและตัวอักษร
ปรับข้อมูลตัวเลขให้ถูกต้องตามตัวคั่นอื่นๆ
แบ่งข้อมูลเป็นตัวเลขและตัวอักษร
จัดรูปแบบข้อความชิดซ้าย
จัดรูปแบบคอลัมน์ แถว และข้อความ
เรียงตามลำดับความหมาย
วางบรรทัดวางระหว่างทุกๆห้าแถวในคอลัมน์ยาว
ข้อความที่คล้ายกันที่แสดงในคอลัมน์ควรจัดเรียงในแนวตั้ง
คอลัมน์ควรมีช่องว่างอย่างน้อยสองช่องระหว่างกัน
ใช้แบบอักษรเดียวตระกูลเดียวกัน
หลีกเลี่ยงแบบอักษรที่หรูหราเกินไป
ใช้ป้ายกำกับที่มีความหมาย
แยกป้ายกำกับด้วยการไฮไลต์
แสดงป้ายกำกับซ้ำเมื่อข้อมูลแสดงเกินหน้าจอ
คอลัมน์และแถวทั้งหมดควรมีป้ายกำกับ
การดำเนินการและ
การนำไปใช้งาน
การจัดทำคู่มือและ
อบรมการใช้งาน
ฝึกอบรมผู้ใช้งาน
สนับสนุนผู้ใช้งาน
จัดทำเอกสารระบบ
การบำรุงรักษา
เป็นกระบวนการกลับสู่จุดเริ่มต้นของ SDLC
วิธีการบำรุงรักษา
ขอรับการบำรุงรักษา
ขอทำการเปลี่ยนแปลง
ออกแบบการเปลี่ยนแปลง
ดำเนินการเปลี่ยนแปลง
การเขียนโค้ด ทดสอบ การใช้งาน
การทดสอบ
หาข้อผิดพลาดเพื่อนำไปปรับปรุง
การใช้งาน
กำหนดติดตั้งระบบ แปลงข้อมูลและจัดหาสถานที่
การเขียนโค้ด
ทีมออกแบบสร้างขึ้นโดยใช้รหัสเขียนโปรแกรม
การวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ
ข้อกำหนดความต้องการ
ข้อกำหนดที่เหมาะสมคือการรวบรวมส่ง
ที่ระบบควรทำจากแหลงอื่น
จัดทำเป็นเอกสารและพร้อมสำหรับ
การจัดการโครงการ
วิธีการที่ทันสมัยในการกำหนด
ความต้องการ
การสร้างต้นแบบ
มีประโยชน์มากสำหรับกำหนดความต้องการ
เป็นกระบวนการซ้ำๆที่นักวิเคราะห์และผู้ใช้ สร้างระบบข้อมูลตาม
ความคิดเห็นของผู้ใช้งาน
การออกแบบแอปพลิเคชั่นรวม JAD
ผู้ใช้
ผู้จัดการ
ผู้สนับสนุน
นักวิเคราะห์ระบบ
ผู้นำเซสซัน
เจ้าหน้าที่ระบบข้อมูล
ข้อกำหนดโครงสร้าง
สร้างแบบจำลองกระบวนการ
เป็นสิ่งสำคัญในการทำความเข้าใจว่า
องค์กรต้องทำอะไรเพื่อให้ทำงานได้
เป็นภาพกราฟฟิกแสดงถึงกระบวนการจัดเก็บและแจกจ่ายข้อมูล
ระหว่างระบบกับสภาพแวดล้อมกับส่วนประกอบภายในระบบ
Data Flow Diagram
DFD คือ
เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการอธิบายภาพรวม
ของระบบ และออกแบบโครงสร้าง
แสดงประเภทของข้อมูลที่จะป้อนเข้า
และส่งออกจากระบบ
มีประโยชน์อย่างไร?
ตอบสนองวัตถุประสงค์หลายประการ
สำหรับผู้เรียน
ช่วยอธิบายขอบเขตของระบบ
เป็นการอธิบายความรู้ของระบบที่มีอยู่แก่ผู้ใช้
เข้าใจง่ายไม่ว่าจะเป็นทางเทคนิคหรือไม่
ง่ายต่อการจดจำ
แสดงข้อมูลโดยละเอียดได้
ใช้เป็นส่วนของเอกสารระบบ
การสร้างแบบจำลองข้อมูลเชิงแนวคิด
Entity-Relationship (E-R
เป็นการแสดงกราฟฟิคข้อมูลและตรรกะ
โดยละเอียดสำหรับองค์กร
ประโยชน์
มีการแสดงภาพที่สมบูรณ์
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
เข้าใจง่าย
มีความยืดหยุ่นสูง
การวางแผนและเลือก
ระบบสารสนเทศ
ระบุและเลือกโครงการ
(. Identifying and
Selecting Projects)
การจำแนกและจัดลำดับ
การพัฒนาโครงการ
เกณฑ์การจำแนกอาจแตกตางกันไป
แต่ละองค์กร
คำขอโครงการจะถูกตรวจสอบทั้งที่ระบุ
ไว้และกำลังดำเนินอยู่
ระบุโครงการพัฒนาศักยภาพ
สมาชิกระดับสูง
แผนกผู้ใช้เป็นหัวหน้าหน่วยที่จะตัดสิน
ใจว่าจะส่งโครงการใด
คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบด้วย
ผู้จัดการที่สนใจในระบบ
กลุ่มพัฒนาหรือผู้จัดการอาวุโส
ผู้บริหารระดับสูงระบุจุดเน้นเชิงกลยุทธ
ขององค์กร
คณะกรรมการการขับเคลื่อนสะท้อนให้
เห็นถึงความหลากหลาย
กลุ่มพัฒนาและรวมฮาร์ดแวร์และระบบ
เข้ากับโครงการที่เสนอ
การเลือกโครงการและพัฒนา
การเลือกโครงการเป็นกิจกรรมสุดท้าย
ในการระบุเลือกโครงการ
ปัจจัยที่ต้องพิจรณาในการเลือก
โครงการ
โครงการที่มีศักยภาพ
ความพรอมของทรพยากร
เกณฑ์การประเมิณ
สภาพธุรกิจในปัจจุบัน
มุมมองของผู้มีอำนาจตัดสิน
ความต้องการที่แท้จริงขององค์กร
เริ่มและวางแผนพัฒนาโครงการ
การริเริ่มโครงการ
มุ่งเน้นไปที่กิจกรรมในการวางแผนโครงการ
ประเภทของกิจกรรมที่ดำเนิน
การระหว่างการเริ่มต้นโครงการ
ตั้งทีมเริ่มต้นโครงการ
สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า
จัดทำแผนเริ่มต้นโครงการ
กำหนดขั้นตอนการจัดการ
การสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
การทำกฎบัตรโครงการ
การวางแผนโครงการ
วัตถุประสงค์ขคือการจัด
ทำเอกสารสองชุด
แผนโครงการพื้นฐาน BPP
คำชี้แจงขอบเขตโครงการ PSS
ประเภทของกิจกรรมที่ดำเนินการ
ระหว่างการวางแผนโครงการ
อธิบายขอบเขตโครงการและความเป็นไปได้
กำหนดแผนโครงการพื้นฐาน
แบ่งโครงการเป็นงานที่จัดการ
ประเมินทรัพยากร
การพัฒนากำหนดการเบื้องต้น
การพัฒนาการสื่อสาร
กำหนดมาตรฐานและขั้นตอน
ระบุและประเมินความเสี่ยง
สร้างงบประมาณเบื้องต้น
พัฒนาขอบเขตโครงการ
มุ่งเน้นไปที่การกำหนดงานที่ชัดเจน
การประเมินความเป็นไปได้
ของโครงการ
ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ
ความเป็นไปได้ทางการดำเนินงาน
ความเป็นไปได้ทางเทคนิค
กำหนดเวลาความเป็นไปได้
ความเป็นไปได้ทางกฎหมายและอาญา
ความเป็นไปได้ทางการเมือง