Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน ในระยะที่1,2,3และ4 ของการคลอด - Coggle…
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน
ในระยะที่1,2,3และ4 ของการคลอด
10.ภาวะมดลูกปลิ้น (Uterine inversion)
ภาวะที่มดลูกตลบกลับจากด้านในออกมาด้านนอก
สาเหตุหลัก จากการทำคลอดรกไม่ถูกวิธี รกเกาะแน่น
ภายหลังคลอดรก คลำไม่พบยอดมดลูก หรือคลำได้ส่วนโค้งนูน บุ๋มเว้าลงไปคล้ายแอ่งปล่องภูเขาไฟ
ชนิด
Complete inversion
incomplete inversion
การป้องกันก่อนล้วงรกต้องคลึงมดลูกให้แข็งตัว ถ้าไม่มีอาการของรกลอกตัว ไม่ควรทำคลอด Controlled cord traction
ใช้ NSS คลุมหากมดลูกปลิ้นออกมา
ไม่ให้ยากลุ่ม ergot จนกว่าจะช่วยให้มดลูกกลับคืนสู่สภาพเดิม
หาก shock ห้ามดันมดลูกเข้าไป
1.ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอด (Premature rupture of membranes:PROM)
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดาและทารก
มารดา
1.การติดเชื้อ 2.คลอดก่อนกำหนด 3.การคลอดในระยะที่2ยาวนาน 4.เพิ่มความเสี่ยงต่อการผ่าคลอด
ทารก
1.ติดเชื้อ เช่นSepticemia 2.ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น RDS 3.Oligohydramnios 4.IUGR 5.Fetal distress & Birth asphyxia
คือ ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอดในทุกอายุครรภ์ แบ่งเป็น 3 ชนิด
2.Preterm premature rupture of membranes:
GA < 37 week
3.. Prolonged rupture of membranes: ถุงน้ำคร่ำแตกนาน มากกว่า
24 ชั่วโมงก่อนทารกคลอด
1.Premature rupture of membranes at term:
GA ≥ 37 week หรือครบกำหนดคลอด แต่ไม่เกิน 42 week
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
1.Membranes rupture 2.Urinary voiding 3.Vaginal discharge: mucous, leucorrhoea
Lab ที่ตรวจหาว่าเป็นน้ำคร่ำ
Nitra zine test:หากพบ PH>=7 (สีน้ำเงินเข้ม) แสดงว่าเป็นน้ำคร่ำ
แตาหากพบ PH <7 (สีส้ม/แดง) แสดงว่าเป็นปัสสาวะหรือสารคัดหลั่งต่างๆที่ออกมาจากคล่องคลอด
Fern test : เมื่อ GA ≥ 12 weeks พบลักษณะคล้ายใบเฟิร์น
Cough test: ให้แม่ไอ แล้วพบน้ำใสๆออกมาทางช่องคลอด
Nile blue sulfate test : GA ≥ 32 weeks จะย้อมติดสีแดง
ปัจจัยเสี่ยง
1.การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำจากเชื้อโรคทางช่องคลอด
2.การติดเชื้อในร่างกาย เช่น ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ติดเชื้อจากการมีฟันผุ
3.เคยได้รับการวินิจฉัยแบบ Invasive prenatal diagnosis (ลุกล้ำ)
4.มีประวัติ PROM / Preterm labor
Placenta abruption / Placenta previa
Twins / Polyhydramnios
Mal presentation / Mal position / CPD
ปากมดลูกปิดไม่สนิท (Incompetent cervix)
ปัจจัยส่วนบุคคล: สูบบุหรี่ / ดื่มเหล้า / ฐานะยากจน
การพยาบาล
1.การซักประวัติ
LMP: อายุครรภ์ เพื่อกำหนดแนวทางการดูแลรักษา
ประเมิน True labor pain/Onset of labor
ลักษณะของ vaginal discharge
ภาวะครรภ์เสี่ยง / ประวัติการฝากครรภ์ / การคลอด
2.การตรวจร่างกาย:Head to toe
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ: เน้น infection,
complication, การติดเชื อทางเพศสัมพันธ
ตรวจครรภ์ :
ตรวจครรภ์ : ท่าของทารก & คะเนน้ำหนักทารกในครรภ์ IUGR: HF < GA, Decrease BW & Fetal movement
ฟัง FHS / ติด EFM
6.การตรวจยืนยันภาวะ PROM
➢GA ≥ 37 weeks : ตรวจภายในทางช่องคลอดได้ เพื่อประเมินถุงน้ำสายสะดือพลัดต่ำ และความก้าวหน้าของการคลอด
➢GA < 37 weeks: ห้ามตรวจภายในทางช่องคลอด ห้ามสวนอุจจาระ ต้องรายงานแพทย์
กิจกรรมการพยาบาล
เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำคร่ำ
Bed rest : ส่งเสริมการสร้าง clot formation ไปอุดรอยรั่วของถุงน้ำคร่ำ
หลีกเลี่ยงการตรวจภายในและทวารหนักโดยไม่จำเป็น
ใส่ผ้าอนามัย : ประเมินการสูญเสียน้ำคร่ำ
การมาตรวจตามนัดอย่างเคร่งครัด
เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เฝ้าระวังการติดเชื้อในมารดา ได้แก่ ภาวะไข้ น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น หรือ กดเจ็บที่ตัวมดลูกโดยเฉพาะในรายที่ได้รับ Glucocorticoid เพื่อกระตุ้นการสร้างสาร surfactant เพราะยาจะกดภูมิต้านทานของมารดา
ดูแลให้ได้รับ antibiotics ตามแผนการรักษา
เฝ้าระวังระวังการติดเชื้อในทารก จากภาวะ chorioamnionitis
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะ Fetal distress / Birth asphyxia
ฟัง FHS q 4 hr
เฝ้าระวังภาวะ Prolapsed cord ในกรณี GA ≥ 37 week
ในกรณีที่ GA < 34 week ดูแลให้ได้รับ Glucocorticoid ตามแผนการรักษา
ติดตามการหดรัดตัวของมดลูก อาการเจ็บครรภ์จริง
2.การคลอดก่อนกำหนด (Preterm labor)
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
Respiratory system : Respiratory distress syndrome (RDS,HMD),Bronchopulmonary dysplasia (BPD), Pneumothorax, Pneumonia
Sepsis
Cardiovascular system: Patent ductus arteriosus (PDA)
GI system: Necrotizing enterocolitis (NEC)
Neurodevelopment sequelae
Behavioral sequelae
ต่อทารก
อาการและอาการแสดง
Labor pain : ปวดเกร็งท้องคล้ายมีรอบประจำเดือน ปวดหลัง ท้องแข็งอาจไม่สม่ำเสมอ และอาจมีมูกเลือดออกทางช่องคลอด
สาเหตุ
ด้านทารก
Congenital anomalies
Fetal death
Congenital infection
ด้านมารดา
Antepartum hemorrhage
โรคร่วมกับการตั้งครรภ์
การติดเชื้อ
แรงกระทบกระเทือนต่อมดลูก
ความเครียด
การป้องกัน
ฉีดProgesterone
การเย็บผูกปาดมดลูก: กรณีมี short cervixและ มีภาวะ cervical incompetence
การคลอดก่อน37 สัปดาห์ แต่ไม่ต่ำกว่า 20 สัปดาห์ มี 4 ชนิดดังนี้
Vary preterm labor pain: GA 28-32 weeks
Late preterm labor pain: GA 34-36 weeks
Moderate preterm labor pain: GA 32-34 weeks
Extremely preterm labor: GA 20-27 weeks
การพยาบาล
เพื่อประคับประครองให้การตั้งครรภ์ดำเนินต่อไป
Bed rest และนอนตะแคงซ้าย
ดูแลให้ได้รับยายับยั้งการคลอดตามแผนการรักษา
ห้ามตรวจภายในหรือสวนอุจจาระก่อนรายงานแพทย์
เฝ้าระวัง ติดตาม และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
ประเมิน/สอนจับการหดรัดตัวของมดลูก และการสังเกตภาวะมีน้ำเดิน
ฟัง Fetal heart sound / ประเมิน FHR tracing
เพื่อป้องกันอันตรายจากการคลอดก่อนกำหนด
เฝ้าระวังและป้องกันภาวะ fetal distress
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลให้ได้รับ Glucocorticoid or Antibiotics ตามแผนการรักษา
เตรียมความพร้อมอุปกรณ์ และทีมกู้ชีพทารกแรกเกิด
การวินิจฉัย
True labor pain: Regular contraction and cervical change, ปวดเอวหรือหลังปวดหน่วงลงช่องคลอด, Mucous bloody & bloody show, Membrane rupture
cervical dilatation >3 cm
Vaginal Cervical length : GA < 34 สัปดาห์และมี Labor pain
Fetal fibronectin (fFN) พบglycoprotein ของ cervicovaginal secretions, Positive คือ มี fFN concentration ≥ 50 ng/ml
การคลอด
ต้องตัดฝีเย็บให้กว้าง เพื่อลดแรงกดต่อเนื้อสมองขณะศีรษะทารกคลอด
ถ้าต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการ ควรใช้ Forceps extraction
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด แจ้ง กุมารแพทย์ & Neonatal resuscitation team
4.ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Intrauterine growth restriction: IUGR)
ภาวะที่ทารกมี estimated fetal weight น้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10 เมื่อเทียบกับอายุครรภ์ขณะนั้น
พยาธิสภาพ
Asymmetrical IUGR
มีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติหรือมีผลกระทบน้อยกว่าส่วนอื่นๆ มักเกิดในช่วงระยะท้ายของการตั้งครรภ์ ทำให้เซลมีเฉพาะขนาดลดลง
Combined type
Symmetrical IUGR
อัตราการเจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะมักเกิดตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
Ultrasound
HC/AC ratio : ในทารกที่เป็น asymmetrical IUGR จะพบค่า HC/AC ที่มากกว่า +2SD แต่มีข้อจ้ากัดสำหรับ symmetrical IUGR เนื่องจากมีภาวะที่โตช้าทุกๆส่วน
FL/AC ratio : เป็น age independent คือ มีค่าคงที่เมื่ออายุครรภ์ตั้งแต่ 20 สัปดาห์ขึ้นไป ถ้า FL/AC มากกว่า 23.4 ให้สงสัยภาวะ IUGR
AC (Abdominal circumference) : บอกการเจริญเติบโตของทารกได้ดีที่สุด
-AC น้อยกว่า -2SD ที่อายุครรภ์ขณะนั้น
-AC ที่น้อยกว่า 1cm/2weeks
Estimated fetal weight : จากค่า BPD, HC, AC และ FL
การวัดปริมาณน้ำคร่ำ:ดูoligohydramnios; DVP < 2 cm หรือ AFI < 5 cm
Doppler velocimetry: ในเส้นเลือด umbilical artery ถ้าพบ absent or reverse end diastolic flow (AEDV and REDV) ใน umbilical artery บ่งบอกว่าอัตรา perinatal mortality จะสูง และเป็น การตัดสินใจเรื่องกำหนดคลอด
สาเหตุ
มารดา
ปัญหาด้านโภชนาการ: น้ำหนักก่อนตัั้งครรภ์, weight gain, BMI
การใช้สารเสพติด
โรคที่เกี่ยวข้องกับเส้นเลือดและส่งผลต่อภาวะทารกโตช้าในครรภ์ เช่น preeclampsia,GDMA2,heart disease, Chronic hypertension, anemia
ทารก
multiple fetuses, chromosome abnormalities,Congenital heart disease, gastroschisis, renal agensis
รก
abruption, infarction,
circumvallate, hemangioma, chorioangioma
สายสะดือ
velamentous or marginal cord insertion, single umbilical artery
การพยาบาล
เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและป้องกันอันตรายจาก IUGR
ดูแลและให้ค้าแนะนำเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
รับประทานอาหารให้ได้พลังงานประมาณ 2,100-2,300 Kcal/day
นอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดทบัของหลอด inferior vena cava
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา เพื่อเพิ่มปริมาณน ้าเลือดไปเลี้ยงมดลูก
การพักผ่อน นอนหลับ งดทำงานหนัก หรือ ออกก้ำลังกายหนัก
งดสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และเสพสารเสพติด
ทารกที่มีการเติบโตช้าผิดปกติ โดยเน้นถึงภาวะทุพโภชนาการเป็นหลัก
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
การผ่าตัดทางหน้าท้อง หรือ การคลอดก่อนก้าหนด เนื่องจาก fetal distress / ตามแผนการรักษา
ความวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพบุตร
เพิ่มภาระการเลี้ยงดู และค่าใช้จ่าย
ความกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจสูง
ต่อทารก
Hypoglycemia / Hypothermia
Hypocalcemia
Polycythemia & Hyperbilirubinemia
Meconium aspiration syndrome
Low resistant เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
3.การคลอดเกินกำหนด (postterm labor)
การคลอดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 40 สัปดาห์
ปัจจัยเสี่ยง
เคยได้รับการตรวจวินิจฉัย แบบ Invasive prenatal diagnosis
การติดเชื อในร่างกาย เช่น Urinary tract infection, Oral & Dental infection
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
การรักษา
การเซาะแยกถุงน้ำคร่ำ
การใช้ยา Prostaglandin
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การให้ยา Oxytocin
การเติมน้ำคร่ำ
Caesarean section: สงสัย CPD
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
ความเครียด และ วิตกกังวล ท้าให้มีการหลั่ง catecholamine มาก ส่งผลให้เกิดprolonged active phase
คลอดยาก prolonged second stage of labor
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพบุตร
เสี่ยงต่อการใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด และภาวะแทรกซ้อนจากการทำ
สูติศาสตร์หัตถการ
ต่อทารก
Macrosomia
Placental dysfunction: เนื่องจาก GA ตั้งแต่40 สัปดาห์ขึ้นไป จะเริ่มมีการตายของเซลล์รก
Post maturity syndrome เนื่องจากมีภาวะหยุดการสะสมไขมันและไกลโคเจน ท้าให้ผมและเล็บยาว กระหม่อมแคบ ผิวหนังเหี่ยวย่น
High perinatal mortality & Morbidity rate
ลักษณะทารกหลังคลอด
เจริญเติบโตช้า
มีภาวะขาดน้ำ
ผิวหนังแห้ง แตก มีรอยย่น ลอก เนื่องจากไขมันใต้ผิวหนังลดลง
แขนและขายาว ผอม
กะโหลกศีรษะแข็ง
ไม่มีไข และขนอ่อน (no vernix and lanugo hair) ตามตัว
ผิวหนังเปื่อยยุ่ยง่าย โดยเฉพาะรอยพับอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ผิวหนัง สายสะดือ เนื้อเยื่อ มีสีน้ำตาลปนเขียว หรือน้ำตาลปนเหลือง
ตื่นตัว (hyperactivity)
การพยาบาล
เพื่อป้องกันทารกขาดออกซิเจนและบาดเจ็บจากการคลอด
ดูแลให้ได้รับการเจาะถุงน้ำคร่ำ ประเมินสีของน้ำคร่ำและ ภาวะ thick meconium stain
รีีบหนีบสายสะดือหลังทารกคลอด เพื่อลดความรุนแรงของภาวะ polycythemia
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำให้เพียงพอตามแผนการรักษา
ถ้าพบภาวะ thick meconium ห้ามดูดเมือกออกจากปาก จมูก และคอด้วยลูกสูบยางแดงก่อนท้าคลอดไหล่ ให้ท้า endotracheal tube suction ก่อนใช้ลูกสูบยางแดง
ให้ oxygen canula 5 lit/min
ให้ apgar score ถ้า < 7 แสดงว่ามีbirth asphyxia ต้องรายงานแพทย์
หลีกเลี่ยงการนอนหงาย
การวินิจฉัย
การประเมินอายุครรภ์: GA > 42 wk
ระดับยอดมดลูกลดลง เนื่องจากท้องลด (Lightening) หรือ น้ำคร่ำน้อย
น้ำหนักมารดาลดลงมากกว่า 1 kg ในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของการตั้งครรภ์
ทารกดิ้นน้อยลง
ระยะคลอด ตรวจภายในพบ กระดูกศีรษะทารกแข็งและไม่พบ Molding
เจาะน้ำคร่ำ (Amniocentesis) พบขี้เทา
5.การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labour)
สาเหตุ
เคยคลอดหลายครั้ง หรือมีประวัติการคลอดเฉียบพลันมาก่อน
กล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องหดรัดตัวแรง
ทารกตัวเล็ก
มารดามีเชิงกรานกว้าง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การคลอดที่ใช้เวลาตั้งแต่ปากมดลูกเริ่มเปิดจนถึงทารกคลอด น้อยกว่า 3 ชั่วโมง และใช้เวลาคลอดในระยะที่ 2 ไม่ถึง10 นาที
การพยาบาล
ก่อนคลอด
กรณีอยู่ไกลรพ. ให้มาพักใกล้รพ.เมื่อใกล้คลอด
สอนสังเกตอาการเจ็บครรภ์ เช่น มดลูกหดรัดตัว น้ำเดิน มีเลือดหรือมูกออกมาทางช่องคลอด ให้รีบมารพ.
ระยะคลอด
ให้นั่งหรือนอนในท่าที่ปลอดภัย หายใจเข้าออกช้าๆ
ถ้าได้รับยา oxytocin ต้องควบคุมปริมาณอย่างเคร่งครัด และติดตามความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด ถ้าพบtacystole contraction ต้องหยุดยา จัดให้นอนตะแคงซ้าย แล้วรีบราบงานแพทย์
ควบคุมฝีเย็บไม่ให้ฉีกขาดมากเกินไป
ไม่พยายามยับยั้งการคลอดด้วยการหนีบขา หรือดันศีรษะไว้ อาจทำให้ทารกได้รับอันตราย
ระยะหลังคลอด
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
อาการ
มดลูกหดรัดตัวแรงและถี่:interval 2 นาที Duration 75-90วินาที โดยไม่มีระยะพัก
มารดาอยากเบ่ง ขณะที่มดลูกยังไม่เปิดหมด
ปากมดลูกเปิดขยายเร็วมาก ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
กราฟคลอดชันมาก
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
Uterine ruptur Tear of cervix,vagina,valva,perineum
Amniotic fluid embolism
มดลูกปริ้น
ตกเลือดในระยะคลอดและหลังคลอด
ติดเชื้อ
ทารก
intraterine asphyxia
intracranial trauma
Birth injeries
sepsis
7.ภาวะหลอดเลือดสายสะดือทอดผ่านต่ำกว่าส่วนนำ (Vasa-Previa)
จะพบ placenta succenturiata
ตรวจภายในพบเส้นเลือดเต้นพอดีกับเสียงหัวใจทารก
9.ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic embolism)
อาการ
BP ต่ำ ชีพจรเต้นเร็ว ปลายมือปลายเท้าเขียว หอบเหนื่อย
ให้ Aminophyline เพื่อลด Bronchospasm
แก้ไขอาการ shockโดย ให้ออกซิเจน แบบ PPV ทาง endotreacheal tube
มารดาอาจเกิด DIC จากการตกเลือด ช็อค
ุ6.ภาวะมดลูกแตก (Uterine rupture)
มีการฉีกขาดของกล้ามเนื้อมดลูกตลอดความหนาของกล้ามเนื้อมดลูก
การจำแนก
มดลูกแตกแบบสมบูรณ์
มดลูกแตกไม่สมบูรณ์
มดลูกปริ
สาเหตุ
มดลูกแตกเอง
เคยได้รับการผ่าตัดมดลูก
ได้รับยาเร่งคลอด
ตั้งครรภ์หลายครั้ง
การได้รับการกระทบกระเทือน
อาการและอาการแสดง
กระสับกระส่าย ไม่ให้จับ uterine contraction ไม่ให้แตะหน้าท้อง
พบ interval <2,Duration<90,intensity =4+,no resting period
พบ Bandl's ring
ฟังFHS เต้นช้า
ปวดท้องรุนแรง พบtetanic contraction
FHR tracing พบ variable deceleration,late deceleration,prolonged bradycardia
การพยาบาล
เพื่อป้องกันภาวะมดลูกแตก
จับและประเมินการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
เฝ้าระวังภาวะtatanic contraction และBandl's ring
ในการให้ oxytocim ต้อง drip ผ่าน infusion pump
การรักษา
การตัดมดลูก กรณีเลือดไหลไม่หยุด ไม่สามารถเย็บซ่อมแซมมดลูก
ผ่าตัดเปิดท้องโดยเร็ว
8.ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ หรือสายสะดือย้อย (Prolapsed cord)
ประเภท
Forelying: สายสะดือต่ำกว่าส่วนนำ พบการเต้นของเส้นเลือดเท่ากับการเต้นของหัวใจทารก
Occult:ไม่พบสายสะดือโผล่ คลำไม่ได้ พบvariable deceleration,prolonged bradycardia
Complete :ถุงน้ำแตก สายสะดือโผล่จากช่องคลอด
การช่วยเหลือฉุกเฉิน
จัดท่า Trendelenberg position
ใส่สายสวนปัสสาวะ
ห้ามดันสายสะดือเข้าไปคืน
มักจะเกิดจากถุงน้ำคร่ำแตก