Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง …
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
การประเมินทางระบบประสาท
การซักประวัติ
ประวัติที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิดรู้และการรู้สติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย
ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรม และบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
ประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทซึ่งมีผลต่อกระบวนการคิด และระดับความรู้สึก ทั้งทางตรงและทางอ้อม
ประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการดาเนินชีวิต พฤติกรรมบางอย่างส่งผลต่อภาวะความเจ็บป่วยได้
การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
ระดับการรู้สึกตัว ประสาทสมอง การเคลื่อนไหว การรับความรู้สึก
การประเมินเกี่ยวกับการรู้สติ
การประเมินประสาทสมอง
การประเมินการเคลื่อนไหวและกาลังของแขนขา
ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การตรวจการทางานของการรับความรู้สึก
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiff neck )
Brudzinki’s sign
Kernig sign
การประเมินการหายใจ
การหายใจแบบCheyne-Stoke respiration
การหายใจแบบCentral neurogenic hyperventilation
Apneutic Breathing
Biot’s or Artaxic Breathing
Cluster Breathing
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง
ลักษณะของรูม่านตา(pupils)
การเคลื่อนไหวและกาลังของแขนขา
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย
การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะ
และกระดูกสันหลัง
การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์
การถ่ายภาพโดยใช้คลื่นเสี่ยง
การเจาะหลัง
การตรวจคลื่นสมอง
การฉีดสารทึบแสงเข้าเส้นเลือดสมอง
การวัดความดันในกะโหลกศีรษะอย่างต่อเนื่อง
ญหาที่พบบ่อยของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
ภาวะความรู้สึกตัวลดลงสาเหตุ
กลุ่มที่เกิดจากมีรอยโรคในศีรษะ
เนื้องอกในสมอง เลือดออกในสมอง สมองขาดเลือด
กลุ่มที่ไม่ได้มีรอยโรคในศีรษะ
ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะตรวจร่างกายทางระบบประสาทปกติเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ และฝีในสมอง
เยื่อหุ้มสมองThe Meninges
เป็นการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองชั้น leptomeninges (piamater และ arachinoid)
การติดเชื้อโดยตรงจากภายนอกเข้าสู่ subarachnoid space
การติดเชื้อที่เข้าทางกะโหลก ศีรษะที่แตก
การติดเชื้อที่ลุกลามไปจากแหล่งติดเชื้อที่อยู่ใกล้สมอง และไขสันหลัง
การแพร่กระจายทางละอองอากาศจากการไอ จาม เข้าสู่ mucosa ของรูจมูกแพร่ไปตาม เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 เข้าสู่สมอง
สาเหตุเยื่อหุ้มสมอง
เยื่อหุ้มสมองเกิดการอักเสบสร้างหนองแล้วแพร่ไปทาง CSF
แบคทีเรียจึงเจริญเติบโตแล้วแพร่ไปอย่างรวดเร็
เกิดการอุดตันทางเดินของ CSF จากเยื่อพังผืดทาให้ CSF ไหลผ่านไม่ได้หรือได้น้อย ทาให้เกิด hydrocephalus
ส่วนเยื่อหุ้มสมองอักเสบทีเกิดจากเชื้ออื่นๆ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัส
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา
เยื่อหุ้มสมองจากเชื้อพยาธิ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้และปวดศีรษะ ส่วนใหญ่มักมีไข้สูง หนาวสั่น และมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง
มีอาการของเยื่อหุ้มสมองถูกระคายเคือง (meningeal irritation) คือ มีอาการคอแข็งตึง
ตรวจพบ kerninig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการอัมพาตของเส้นประสาทสมองต่างๆ
มีอาการชัก อัมพาต และอาการอื่นๆแล้วแต่ส่วนของสมองที่มีพยาธิสภาพ
การรักษา
การรักษาตามอาการ
การรักษาเฉพาะ
สมองอักเสบ(Encephalitis)
ตาแหน่งติดเชื้อปฐมภูมิ
ระบบทางเดินหายใจ
•ระบบทางเดินอาหาร
•ผิวหนัง
ไวรัสจะเข้าสู่สมองและไขสันหลัง
แพร่กระจายมาตามกระแสเลือด
เข้ามาตามเส้นประสามและเข้าสู่สมอง
เข้ามาทางเยื่อบุโพรงจมูก
เชื้อไวรัส ที่เป็นสาเหตุที่พบได้หลายชนิด ที่พบบ่อยได้แก่ Arbovirus
การรักษาเฉพาะเพื่อทาลายเชื้อโรค
•ปัจจุบันมียาที่มีฤทธิ์ทาลายเชื้อไวรัสได้บางชนิด ได้แก่ Acyclovir
การรักษาประคับประคอง
อาการและอาการแสดง
ระยะแรกผู้ป่วยมักมีอาการนา ได้แก่ อาการไข้ ปวดศีรษะ ครั่นเนื้อครั่นตัว
ระยะต่อมาผู้ป่วยจะมีอาการทางสมอง ซึ่งจะพบความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว บางราย
ฝีในสมอง (Brain abscess)
บริเวณที่พบฝีในสมองบ่อยเรียงลาดับ ได้แก่ frontal, parietal, temporal, occipital, cerebellum และ basal ganlia
เชื้อโรคเข้าสมองได้หลายรูปแบบ
ลุกลามจากอวัยวะใกล้เคียงที่มีการอักเสบติดเชื้ออยู่
ทางกระแสเลือด
ได้รับเชื้อโดยตรง
การบาดเจ็บที่เนื้อสมองและจากการแทงทะลุผ่านเนื้อสมอง
เชื้อโรคที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อย คือ แบคทีเรียกลุ่ม Aerobic streptococcus และ Anaerobic streptococcus
อาการและอาการแสดง
•อาการทั่วไป ส่วนใหญ่จะมีอาการปวดศีรษะ
อาการไข้
อาการผิดปกติทางระบบประสาท
อาการผิดปกติทางระบบประสาทเฉพาะที่ ขึ้นกับตาแหน่งของฝีในสมอง
การรักษา
ฝีในระยะเริ่มแรกและมีขนาดเล็กกว่า 2 cm.
1.การรักษาโดยให้ยา 2 การผ่าตัด พิจารณา:ตาแหน่ง,ขนาด > 3 ซม.,จานวน,ระยะของฝี
โรคแทรกซ้อน(Complication)-ภาวะสมองเคลื่อนที่ (Brain herniation)-ฝีแตกเข้าสู่โพรงสมอง (Ventriculitis)
Non infection
ชัก (Seizure)
อาการ
1.ไม่รู้สึกตัว
2.มีการเกร็งหรือกระตุกเฉพาะที่หรือทั่วตัวหรือทั้ง 2 อย่าง
3.มีความเปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก
4.มีความเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
สาเหตุของการชักอาจมาจาก
•พันธุกรรม
•ความไม่สมดุลของเมตาโบลิก หรืออิเล็กโทรลัยยท์
•การติดเชื้อ การบาดเจ็บที่ศีรษะ โรคหลอดเลือดสมอง
•ความผิดปกติของสมองแต่กาเนิด เนื้องอก
•ความเสื่อม และช่วงของการเลิกแอลกอฮอล์ หรือ barbiturate
ปัจจัยที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เกิดอาการชัก
•อารมณ์เครียด การอดนอน การทางานเหนื่อยมาก
•ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
•เมื่อร่างกายมีภาวะปกติ เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ การมีแสงจ้าเกินไป การหายใจยาวและลึก (Hyperventilation)
•ภาวะที่ร่างกายขาดออกซิเจน
ร่างกายมีการตอบสนองโดย
BP จะสูง
ชีพจรเร็ว
มีปริมาณออกซิเจนในเลือดลดลง
ช่วงฟื้นตัวหลังชักร่างกายจะปรับตัวกลับเข้าสู่ภาวะสมดุลและ
ไม่มีพยาธิสภาพของสมองทีเกิดจากการชักหลงเหลือให้เห็น
ชนิดของการชัก
ชนิดที่เกิดขึ้นทั่วไป
1.1 การชักที่มีอาการเกร็งและกระตุกทั้งตัว
1.2 การชักที่มีลักษณะตาค้างหรือไม่รู้สึกตัวชั่วคราว
2.ชนิดที่เกิดเฉพาะที่
2.1 การมีอาการกระตุกของกล้ามเนื้อหนึ่งหรือสองมัดของร่างกาย
2.2. การชักแบบประสาทหลอนหรือมีความผิดปกติทางจิต
3.การชักที่ไม่สามารถจัดอยู่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
การรักษา
การรักษาตามสาเหตุ เช่น
•มีสิ่งกินที่
•มีปัญหาจากเมตาบอลิก หรืออิเล็กโทรลัยท์
•การติดเชื้อ
ให้ยาต้านชัก
การชักบางชนิดอาจจาเป็นต้อง รักษาโดยการผ่าตัด