Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาทระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง -…
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาทระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
การประเมินอาการ
ทางระบบประสาท
การซักประวัติ
ประวัติที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิดรู้
และการรู้สติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย เช่น
อาการปวดศีรษะ ตามัว อาเจียน
อาการของการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
อาการชัก อาการซึมลง
ความผิดปกติในการพูด เช่น พูดลำบาก พูดตะกุกตะกัก พูดไม่ชัด
ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรม และบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
เช่น อาการหลงลืม สติปัญญา
ประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทซึ่งมีผลต่อกระบวนการคิด และระดับความรู้สึก ทั้งทางตรงและทางอ้อม
โรคเนื้องอกในสมอง
ประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการด าเนินชีวิต พฤติกรรมบางอย่างส่งผลต่อภาวะความเจ็บป่วยได้
การใช้สารเสพติด
การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
การประเมินผู้ป่วยทางระบบประสาทแบบเร็วที่สามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงการท างานของระบบประสาท เบื้องต้นเป็นพื้นฐาน
การประเมินเกี่ยวกับการรู้สติ
การประเมิน
เพื่อดูระดับการรู้สติระดับ
ความรู้สึกตัวของบุคคลนั้น
ระดับความรู้สึกตัว(Level of Consiousness)
Full or Alert
ภาวะที่มีระดับการรู้สติเป็นปกต
Semicoma
นอาการกึ่งหมดสติ
Stupor
ระยะที่ซึมมาก
Confusion
ภาวะที่สูญเสียความสามารถในการคิด
การประเมินประสาทสมอง (Cranial nerve function)
Oculomotor nerve
Trochlear nerve
Optic nerve
Trigeminal nerve
Olfactory nerve รับความรู้สึกด้านกลิ่น
Abducens nerve
Facial nerve
8.Acoustic หรือ Auditory
Glossopharyngeal nerve
Vagus nerve
Accessory nerve
Hypoglossal nerve
2.4 การประเมินการเคลื่อนไหวและก าลังของแขนขา
ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Motor power)
การตรวจการท างานของการรับความรู้สึก ( Sensory Function)
การประเมินสภาพผู้ป่วยทางระบบประสาท จะต้องประเมินจากหลายด้านรวมกัน ได้แก่
การวัดระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย (coma scale)
กลาสโกว์ โคม่า สเกล (Glasgow Coma
Scale)
E3V3M5
การวัดสัญญาณชีพ(vital signs)
เพราะสมอง
บางส่วนเป็นศูนย์กลางในการควบคุมการหายใจ
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง(focal neurological signs)
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย
(Neurodiagnostic Studies)
ปัญหาที่พบบ่อยของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ
ของระบบประสาท
ภาวะความรู้สึกตัวลดลง (alteration of consciousness)
เป็นความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัวที่ท า
ให้ความตื่นตัวลดลง
สาเหตุ
กลุ่มที่เกิดจากมีรอยโรคในศีรษะ
กลุ่มที่ไม่ได้มีรอยโรคในศีรษะ
การติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง
(Infection)
พบบ่อย คือ เยื่อหุ้ม
สมองอักเสบ สมองอักเสบ และฝีในสมอง
การติดเชื้อโดยตรงจากภายนอกเข้าสู่ subarachnoid space
การติดเชื้อที่ลุกลามไปจากแหล่งติดเชื้อที่อยู่ใกล้สมอง และไขสันหลัง
การแพร่กระจายทางละอองอากาศจากการไอ จาม เข้าสู่ mucosa ของรูจมูกแพร่ไปตาม เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 เข้าสู่สมอง
พบมากในบุคคลที่มีสภาพ
ร่างกายอ่อนแอ พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิงและพบในคนผิวดำมากกว่าผิวขาว
ส าหรับเชื้อแบคทีเรียที่ท าให้เกิดเยื่อหุ้มสมองอักเสบที่พบบ่อย เช่น streptococcus pneumonia (pneumococcal meningitis)
ส่วนเยื่อหุ้มสมองอักเสบทีเกิดจากเชื้ออื่นๆได้แก่
•เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัส
ส่วนใหญ่มาจากระบบ
ทางเดินหายใจและทางปาก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา
ผู้ป่วยเอดส์
เยื่อหุ้มสมองจากเชื้อพยาธิ
พยาธิหอยโข่ง
ตัวจี๊ด
ตัวอ่อน
พยาธิตืดหมู
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้และปวดศีรษะ ส่วนใหญ่มักมีไข้สูง หนาวสั่น และมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจน้ าไขสันหลัง
การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
การรักษา
การรักษาตามอาการ
การรักษาเฉพาะ
สมองอักเสบ (Encephalitis)
เป็นการติดเชื้ออย่าง
เฉียบพลันของเนื้อเยื่อสมองและไขสันหลังส่วน parenchymal
พยาธิสรีรวิทยา
ไวรัสทุกชนิดไม่สามารถเข้าสู่ระบบประสาท
ส่วนกลางได้โดยตรง
ไวรัสจะเข้าสู่สมองและไขสันหลัง ได้ 3 ทาง
แพร่กระจายมาตามกระแสเลือด
เข้ามาตามเส้นประสามและเข้าสู่สมอง
เข้ามาทางเยื่อบุโพรงจมูก
อาการและอาการแสดงสมองอักเสบ
ระยะแรก ผู้ป่วยมักมีอาการน า ได้แก่ อาการไข้ ปวดศีรษะ
ครั่นเนื้อครั่นตัว
ระยะต่อมาผู้ป่วยจะมีอาการทางสมองมีอาการสับสน วุ่นวายหรือเพ้อคลั่ง
มีอาการซึมมีอาการชัก ซึ่งพบทั้งชนิดชักทั้งตัวและชักเฉพาะที่
อาจมีอัมพาต
การตรวจวินิจฉัยสมองอักเสบ
การตัดชิ้นเนื้อสมอง
การตรวจ MRI
การเจาะหลัง
การรักษาสมองอักเสบ
การรักษาประคับประคอง
การรักษาเฉพาะเพื่อทำลายเชื้อโรค