Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ, น.ส.สุทธิกมล หนองเหล็ก เลขที่ 91 ปี 2…
บทที่ 2 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
2. ได้เรียนรู้อะไรเกี่ยวกับการให้อาหารเสริมในเด็ก
อาหารเสริมในทารก
เริ่มให้อาหารเสริมครั้งแรกเมื่ออายุ 6 เดือน
6 เดือนแรกให้กินนมแม่อย่างเดียว โดยไม่ต้องให้อาหารอื่น แม้แต่น้ำ
เพราะนมแม่มีสารอาหารครบถ้วนและเพียงพอ
หลัง 6 เดือนยังคงให้กินนมแม่ จนเด็กอายุ 1-2 ปี หรือนานกว่านั้น
หลัง 6 เดือนเริ่มให้อาหารเสริม ดังนี้
อายุ 6 เดือน
อาหาร 1 มื้อ โดยให้ข้าวบดละเอียด เริ่มให้แต่น้อยจนครบ 3ช้อน ไข่แดง1/2 ฟอง ปลา 2 ช้อน หรือตับบด 1 ช้อน ผักสุก 1/2 ช้อน หรือฟักทอง 1/2 ช้อน มะละกอสุก 2ชิ้น หรือส้ม 2 กลีบ
อายุ 7 เดือน
อาหาร 1 มื้อ ให้ข้าว 4 ช้อน ข้าวบดละเอียด ไข่แดง 1/2 ฟอง ปลา 2 ช้อน หรือหมู 2 ช้อน ผักสุก1ช้อนครึ่ง
อายุ 8-9 เดือน
อาหาร 2 มื้อ ให้ข้าว 5 ช้อน โดยข้าวจะต้องตุ๋นหรือต้มเละๆ หรือถ้าจะบดต้องบดหยาบ ไข่ 1 ฟอง และปลา 2 ช้อน หรือหมู 2 ช้อน ผัก 2 ช้อน มะละกอสุก 3 ชิ้น
อายุ 10-12 เดือน
อาหาร 3 มื้อ ข้าวต้มหรือข้าวสวยนุ่ม 5 ช้อน ไข่ 1ฟองและปลา 2 ช้อน
การให้อาหารเสริมในเด็ก มีตำราแนะนำว่า ควรให้มื้อเย็น เด็กจะได้อิ่ม
และจะช่วยลดดูดนมตอนกลางคืนให้น้อยลง
คำแนะนำสำหรับการให้อาหารเสริมในเด็ก
อาหารเสริมที่ให้ครั้งแรกควรบดให้ละเอียด และลื่นคอ แล้วค่อยบดหยาบ
เมื่อทารกมีฟันขึ้น อาจให้อาหารเป็นชิ้นเล็กๆ ในขนาดที่ทารกสามารถเคี้ยวได้
ให้อาหารเสริมทีละน้อยๆ แต่ละชนิดควรห่างกัน 4-7 วัน
ควรให้ทารกเรียนรู้การทานอาหารเสริมจากช้อน
ให้อาหารก่อนให้นม หรือให้ในขณะที่ทารกก าลังหิว
ขณะให้อาหารเสริมควรยิ้มและพูดกับทารก ให้ทารกมี
ความสุขกับการได้รับอาหาร
เมื่อทารกสามารถทานอาหารเสริมได้ดี ควรลดปริมาณ
ของนมลง เพื่อป้องกันมิให้ทารกได้อาหารมากเกิน
5. ถ้าต้องให้คำแนะนำมารดาในการเลี้ยงดูบุตรเพื่อแก้ไข หรือป้องกันปัญหาดูดนิ้ว พี่อิจฉาน้อง จะแนะนำแม่ว่าอย่างไร
5.1 ปัญหาพี่อิจฉาน้อง มีวิธีป้องกันคือ
ช่วงคลอดน้องแล้วไม่ควรนำพี่เข้าโรงเรียน ให้เข้า
ก่อน 4-5 เดือน มีส่วนช่วยในการเลือกของให้น้อง
ให้พี่มีโอกาสได้ซื้อของที่จำเป็นสำหรับพี่ด้วย
อย่าทำให้เด็กรู้สึกว่าไม่มีใครมีเวลาให้เขา
เด็กควรได้รับการกระตุ้นให้ช่วยดูแลน้อง เช่น
อาบน้ำ
เปลี่ยนผ้าอ้อม
ต้องทำทุกอย่างให้เด็กรู้ว่ายังเป็นที่รักของบิดามารดา
แม่อุ้มน้อง
พ่ออุ้มพี่
5.2 ปัญหาดููดนิ้ว มีวิธีป้องกันคือ
อธิบายให้มารดาเข้าใจว่าไม่มีอันตราย
นอกจากแผลที่นิ้ว
ไม่มีผลกระทบต่อการผิดรูปของเหงือก ถ้าดูดไม่เกิน 5 ขวบ
ค่อยๆหาสาเหตุ และใช้วิธีเบี่ยงเบนความสนใจ
ห้ามตำหนิเด็ก ถ้าจะดึงนิ้วออกต้องค่อยๆทำ ในขณะที่เด็กกำลังเพลินกับกิจกรรม
อธิบายมาดาฟังว่า ส่วนใหญ่อาการมักหายก่อนอายุ 4 ปี
เบี่ยงเบนให้เด็กทำกิจกรรมอื่นเมื่อมีการดูดนิ้ว และชมเมื่อไม่ดูดนิ้ว
3. Marasmus กับ Kwashiorkor มีความแตกต่างกันอย่างไร
Marasmus
คือ
โรคขาดสารอาหาร Marasmus
ขาดทั้งโปรตีนและพลังงาน(Calories)
เด็กจะมีอาการ ผอมแห้ง กล้ามเนื้อลีบ ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
มีภาวะขาดพลังงาน ซึ่งพบบ่อยในเด็กอายุกว่า 1 ปี
จะมีอาการผอมแห้งกล้ามเนื้อลีบ ไขมันใต้ผิวหนังน้อยน้ำหนัก
ต่ำกว่าปกติ ส่วนใหญ่จะไม่มีอาการบวมและตับจะไม่โต
Kwashiorkor
เด็กกลุ่มนี้จะขาดโปรตีน
ทำให้เด็กมีอาการ
บวม กดบุ๋ม
จะพบอาการบวมที่เท้าและขาเป็น
ส่วนใหญ่ บางรายกระจายไปที่
แขน
ขา
ใบหน้า
ผิวหนัง
มันวาว
บาง
แห้งหยาบ
เหมือนหนังคางคก ( hyperkeratosis)
สีกระดำกระด่าง hyperpigmentration
มีหนังแห้งลอก เกิดการติดเชื้อได้ง่ายจากภูมิต้านทานต่ำเพราะขาดโปรตีน ผู้ป่วยมีไขมันใต้ผิวหนัง
แตกต่างกันคือ Marasmus จะขาดทั้งโปรตีนและพลังงาน แต่ Kwashiorkor จะขาดแค่โปรงตีน
4.2 ได้เรียนรู้อะไรเกี่ยวกับการคำนวณนม และการให้นมในเด็ก
นมแม่เป็นแหล่งมีพลังงานที่เพียงพอ
สำหรับทารกในช่วง 6 เดือนแรก
โปรตีนที่อยู่ในน้ำนมแม่
เป็นโปรตีนคุณภาพดี
ย่อยและดูดซึมง่าย
มีภูมิคุ้มกันชนิด Alpha-lactabumin
ไม่มี beta-lactoglobulin ทำให้ทารกไม่เกิดโรคภูมิแพ้
สิ่งที่ต้องทราบเกี่ยวกับนม
นมปกติทารก
ครบกำหนด
1 ออนซ์จะมี 20 cal
คลอดก่อนกำหนด
1 ออนซ์จะมี 24 cal
นมเด็กปกติ 20 Kcal = 1 ออนซ์
วิธีชงนม
ล้างมือให้สะอาด
ต้มขวดนม 15-20 นาที
ใส่น้ำต้มสุก 70 องศา
ใส่นม เขย่าจนนมละลาย เติมน้ำเท่ากับปริมาณที่ต้องการ
นมชงแล้วเก็บได้แค่ 2 ชั่วโมงเท่านั้น นานกว่านั้นต้องทิ้ง
ใช้สูตร Holiday and segar ในการคำนวณพลังงาน
10 กิโลแรก = 100 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม/วัน
10 กิโลต่อมา = 50 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม/วัน
น้ำหนักที่เหลือ = 20 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม/วัน
ทารกต้องการพลังงาน 100 Kcal/kg/day
แม่ควรให้นมลูกอย่างน้อย 3 เดือน
แต่ถ้าเป็นไปได้ 6 เดือนจะดีกว่า
1. ได้เรียนรู้อะไรจากการประเมินภาวะโภชนาการในเด็ก
การประเมินการเจริญเติบโตทำได้โดย
1.ชั่งน้ำหนัก
2.วัดส่วนสูง
สูตรคำนวณส่วนสูงจากอายุ 2-12 ปี = [อายุ(ปี)*6] +77
3.ใช้สูตรคำนวณน้ำหนักเทียบกับอายุ ตามเกณฑ์มาตรฐาน
สูตรที่1 อายุ 3-12 เดือน น้ำหนัก(กก) = (อายุ(เดือน) + 9) / 2
สูตรที่2 อายุอายุ 1-6 ปี= {(อายุเป็นปี * 2)} +8 กิโลกรัม
สูตรที่3 อายุอายุ 7-12 ปี= [(อายุเป็นปี * 7 ) -5 ] /2 กิโลกรัม
**เมื่อคำนวณได้แล้วให้นำมาหาค่าเปอร์เซ็นไทล์
และนำมาเปรียบเทียบน้ำหนักกับเกณฑ์มาตรฐาน
เกณฑ์มาตรฐาน
120% ขึ้นไป เป็นเด็กอ้วน
มากกว่า 90 -110 % เป็นเด็กน้ำหนักปกติ
75-90% เป็นเด็กขาดสารอาหารระดับ 1
60-74 % เป็นเด็กขาดสารอาหารระดับ 2
ต ่ากว่า 60% เป็นเด็กขาดสารอาหารระดับ 3
เมื่อเราคำนวณได้เรียบร้อย เราก็จะรู้ว่าเด็กขาดสารอาหารหรือไม่ ถ้าขาดสารอาหารจะอยู่ในระดับใด เพื่อที่จะให้คำแนะนำมารดาในการเลี้ยงดูเด็กได้ถูกต้อง เด็กจะได้มีภาวะทางโภชนาการที่ปกติ
น.ส.สุทธิกมล หนองเหล็ก เลขที่ 91 ปี 2 รุ่น 37
รหัสนักศึกษา 62111301094