Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ารเลือกทำเลที่ตั้งและลักษณะของเรือนไทย 4 ภาค - Coggle Diagram
ารเลือกทำเลที่ตั้งและลักษณะของเรือนไทย 4 ภาค
ลักษณะของเรือนไทย 4 ภาค
เรือนไทยภาคเหนือ (เรือนกาแล เรือนล้านนา)
บริเวณภาคเหนือของไทยมีอากาศหนาวเรือนที่อยู่อาศัยจึงต้องมีชายคาที่ลาดคลุมลงมาต่ำกว่าตัวเรือนมีหน้าต่างน้อยเพื่อให้ภายในตัวเรือนมีความอบอุ่นเรือนจึงดูไม่โล่งโปร่งเหมือนเรือนทางภาคกลางการวางตัวเรือนจะมีลักษณะขวางตะวัน คือ หันข้างเรือนไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตกเพื่อให้ห้องนอนได้รับแสงแดด
ลักษณะเด่นหลักการหนึ่งที่ทำให้สังเกตได้ง่ายๆว่าเป็นเรือนภาคเหนือ คือ คือยอดปั้นลมนิยมประดับไม้กาแลที่แกะสลักอย่างงดงาม มือชาว่างโล่งหรือเติ๋น ด้านหน้าสร้างร้านน้ำเพื่อวางหม้อน้ำดื่ม เหลือประตูเข้าห้องนอนมักประดับหัมยนต์ซึ่งเป็นแผ่นไม้แกะสลักลวดลายดอกไม้ใบไม้เชื่อว่าสามารถป้องกันสิ่งชั่วร้ายไม่ให้เข้าไปในเรือนได้หลังคามุงด้วยแผ่นไม้ (แป้นมุง) หรือ กระเบื้องดินเผา (ดินขอ) เรือนกาแลเป็นเรือนที่นิยมปลูกกันมากในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน เขตลำน้ำปิงตอนเหนือ
เรือนภาคอีสานหรือเฮือนอีสาน
เรือนทางภาคอีสานมีทั้งเรือนเครื่องผูกที่มักสร้างเป็นที่พักชั่วคราวไว้หลบแดดหลบฝนซึ่งมีขนาดไม่ใหญ่นักเรียกว่า “ตูบ” หยิบประเภทสร้างไว้ตามคันนาเป็นที่เฝ้านา เรียกว่า “เถียงนา”
เรือนกึ่งถาวร
แบ่งเป็นเรือนเหย้า เป็นเรือนเครื่องผูกหรือผสมเรือนเครื่องสับเป็นเรือนของเขยที่เพิ่งแยกตัวออกจากเรือนของพ่อแม่อาจแยกไปปลูกเป็นตูบ (เกย) ต่อออกมาจากเล้าข้าว (ยุ้งข้าว) หรือเป็นเพลิงต่อจากเล้าข้าว
เรือนดั้งต่อดิน
เป็นเรือนที่มีสัดส่วนและแข็งแรงกว่าตูบต่อเล้า นิยมปลูกเป็นเรือนแฝดใต้ถุนสูงเรือนไฟและร้านน้ำลักษณะคล้ายเรือนเกย คือ เรือนที่ต่อชั้นมีหลังคาคลุมต่อออกไปจากเรือนใหญ่
เรือนถาวร
เรือนเครื่องสับไม้จริง รูปทรงเรียบง่าย หลังคาจั่วมีหน้าต่างบานเล็กๆ
เรือนไทยภาคกลาง
เรือนครอบครัวเดี่ยว
เป็นเรือนขนาดเล็กมีเรือนนอน 1 หลังแบ่งเป็นห้องนอนและห้องโถงเรือนครัวอีก 1 หลังเรือนทั้ง 2 หลังเชื่อมต่อกันด้วยระเบียง
เรือนครอบครัวขยาย
เมื่อลูกสาวแต่งงานพ่อแม่มักปลูกเรือนให้ลูกสาวและลูกเขยอยู่ต่างหากอีก 1 หลังซึ่งอาจอยู่ด้านข้างด้านตรงข้ามของเรือนพ่อแม่หรือปลูกเป็นเรือนที่ตั้งเป็นเอกเทศออกจากเรือนพ่อแม่ก็ได้
เรือนคหบดี
เป็นเรือนหมู่ขนาดใหญ่ผู้สร้างมักมีฐานะดีประกอบด้วยเรือนใหญ่เรือตรีเรือนขวางเรือนครัวและหอนกเรือนทุกหลังเชื่อมต่อกันชานโล่งไม่มุงหลังคาแต่บริเวณครางชานมักจะเป็นช่องเพื่อปลูกไม้ใหญ่ที่ให้ร่มเงา
ตัวอย่างเรือนภาคกลาง
หอไตร วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารเดิมเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ตำหนักแดงพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติที่เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทร์ธาราบรมราชินี
ตำหนักเขียวที่วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร จังหวัดนนทบุรี
หมู่ตำหนักเรือนต้น พระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยใช้ประทับรับรองเพื่อนต้นของพระองค์
หมู่ตำหนักนักทับขวัญ พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
เรือนภาคใต้
เป็นเรือนยกพื้นสูงเช่นเดียวกับเรือนไทยภาคอื่นๆแต่เนื่องจากภาคใต้ฤดูฝนที่ยาวนาน ดังนั้น นิยมเอาท่อนไม้ หิน หรือปูนหล่อเป็นฐานรองรับเสาไม้ โดยไม่ได้ยึดติดระหว่างเสาและฐานให้มั่นคงแข็งแรง และนำไม้มาร้อยทะลุเสาเรือนทุกต้นตามแนวยาวเพื่อความมั่นคง
เรือนไทยพุทธ
เรือนนี้ขนาดไม่ใหญ่โตนัก หลังคาจั่วและไม่ยกพื้นสูงขนาดให้คนเดินลอดได้สะดวกเนื่องจากมีลมพายุพัดผ่านเสมอไม่ใช่ค่ะยืนยาวช่องหน้าต่างน้อยและนิยมมุงหลังคาด้วยกระเบื้องดินเผา
เรือนไทยมุสลิม
เป็นเรือนที่สะท้อนสถาปัตยกรรมพื้นบ้านและวัฒนธรรมอิสลามมีการกำหนดบริเวณแบ่งแยกพื้นที่สำหรับเพศชายและเพศหญิงอย่างชัดเจนและยังเป็นเรือนที่เคลื่อนย้ายไปปลูก ณ คือห้างใหม่ได้สะดวกส่วนหลังคานิยมสร้างเป็นทรงจั่วและทรงปั้นหยาหรือทรงมะนิลา
การเลือกทำเลที่อยู่
ภาคกลาง
เป็นที่ราบลุ่มที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงแม่น้ำไหลผ่านไหลตายการตั้งบ้านเรือนจึงมักตั้งอยู่ริมแม่น้ำเป็นแนวยาวไปตลอดทั้งสองฝั่งของลำน้ำ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน
เป็นภาพที่มีความแห้งแล้งกว่าภาคอื่นๆ แต่เนื่องจากดินในภาคเหนือส่วนใหญ่เป็นดินปนทรายไม่อุ้มน้ำจึงไม่สามารถกักเก็บน้ำได้แต่บางทีเกิดน้ำท่วมใหญ่ดังนั้นด้วยภูมิปัญญาของชาวอีสานโครงการเลือกสถานที่ตั้งเรือนแตกต่างไปตามสถานที่ คือ คือทั้งที่ราบลุ่ม ใกล้แหล่งน้ำ ที่ดอนมีน้ำซับหรือชายป่า
ภาคเหนือ
ชาวเหนือนิยมตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำระหว่างหุบเขาเมื่อเมืองขยายตัวขึ้นต้องการจัดระบบชลประทานที่เรียกว่า ”ฝาย” เพื่อให้มีน้ำพอใช้ในการเกษตร
ภาคใต้
ถึงแม้ภาคใต้จะมีฝนตกชุกและแม่น้ำลำคลองไหลตายแต่ชาวใต้ก็อาศัยน้ำบ่อน้ำพังในชีวิตประจำวันเหตุที่ไม่นิยมใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองเนื่องจากแม่น้ำภาคใต้ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากน้ำเค็มเหมือนน้ำทะเลหนุน