Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วย ชาย อายุ 80 ปี Dx. Stroke โรคประจำตัว เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง -…
ผู้ป่วย ชาย อายุ 80 ปี Dx. Stroke โรคประจำตัว เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง
Diabetes mellitus (โรคเบาหวาน)
อาการเเละอาการเเสดง
หิวบ่อย กินจุ
น้ำหนักตัวลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
ปัสสาวะบ่อยขี้น
การกระหายน้ำบ่อยขึ้น
ตาพร่ามัว
เนื่องจากระดับน้ำตาลในร่างกายที่มากกว่าปกติ เป็นสาเหตุทำให้ร่างกายขับน้ำตาลออกมาทางเลนส์ตา เมื่อรับน้ำที่ผ่านเข้าเลนส์ตาก็จะทำการซับน้ำไว้ให้ได้มากที่สุดจึงเกิดการทำงานที่ผิดปกติ เป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการตาพร่ามัว มองภาพได้ไม่ชัด หรือถ้าเป็นมากจะเห็นน้ำไหลออกมาจากดวงตา แต่ไม่ใช่น้ำตา น้ำที่ไหลออกจากจะมีลักษณะเหนียวข้น
ผิวหนังมีปัญหา
เช่น คัน ทำให้เกิดการติดเชื้อ แผลหายช้า
อ่อนเพลีย
คลื่นไส้อาเจียน
พยาธิสภาพ
โรคเบาหวานเกิดขึ้นจากการที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงในการเผาผลาญสารอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตน เนื่องจากความไม่สมดุลของการใช้กับการสร้างอินซูลินร่างกาย
อินซูลินจะมีหน่วยที่ควบคุมอัตราการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน การพร่องอินซูลินพบสาเหตุใหญ่ๆ อย่างน้อย 4 ปัจจัย
กระบวนการเผาผลาญ
ปัจจัยทางภาวะภูมิต้านทาน
เป็นผลให้ไอสเลทบีต้าเซลล์ถูกทำลาย หรือสร้างอินซูลินไม่ได้
กรรมพันธุ์
ภาวะติดเชื้อ
จะทำให้กลูโคสในกระแสเลือดผ่านเข้าสู่เซลล์ได้ช้าในขณะเดียวกัน จะมีการสร้างกลูโคสจากไกลโคเจนที่ตับ และมีการดูดซึมเพิ่มจากอาหารที่รับประทานเข้าไป
จึงเกิดภาวะน้ำตาลในกระแสเลือดสูง (Hyperglycemia)
ระดับกลูโคสที่สูงขึ้นนี้ ถ้าเกินกว่าที่ความสามารถของไตจะดูดซึมกลับ (Renal threshold) ก็จะถูกขับออกพร้อมกับน้ำมากับปัสสาวะจึงตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ (Glucosuria) น้ำตาลที่เข้มข้นสูงจะพาเอาน้ำออกมาเป็นจำนวนมาก
ทำให้ผู้ป่วยปัสสาวะบ่อย (Polyuria) พร้อมกับสูญเสียเกลือแร่บางชนิด โดยเฉพาะโซเดียมร่างกายจึงขาดทั้งอาหาร น้ำและเกลือแร่ จึงมีอาหารหิวบ่อย กินจุ (Polyphagia) กระหายน้ำ ดื่มน้ำบ่อย (Polydipsia) และน้ำหนักลด ผอมลงบางรายอ่อนเพลีย อาการมากน้อยแล้วแต่การสูญเสีย น้ำตาล น้ำ และเกลือแร่ไปเป็นแบบเรื้อรัง
(Hypertension) ความดันโลหิตสูง
พยาธสภาพ
Homoral abnormalities ความผิดปกติของฮอร์โมน
Natriuretic peptide มีความผิดปกติไม่ตอบสนอง →เกิดน้ำคั่งในหลอดเลือด →ความดันสูง
Hyperinsulinemia →เกลือคั่ง→กระตุ้นระบบประสาท→แคลเซียมในเซลล์สูง
RAAS→หลั่งangiotensin→หลอดเลือดหดตัว→หลั่ง aldosterone →คั่งเกลือและน้ำ
Vascular endothetial mechanism กลไกเยื่อบุผนังหลอดเลือด
Endothelial สร้างสาร→ขยายหลอดเลือดได้ลดลงหรือสร้างสารหดหลอดเลือดมากเกินไป
Neural components ความผิดปกติของระบบประสาท
การรับประทานแคลเซียม โปรแตสเซียมและโซเดียม
ขาดแคลเซียม→ความดันสูง จากเสียสมดุลภายในและภายนอกเซลล์
ขาดโปรแตศเซียม→แรงต้านของหลอดเลลือดส่วนปลายสูงขึ้น
ทานโซเดียมมากร่วมกับการผิดปกติของไต→น้ำและโซเดียมในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น→cadiac output เพิ่มขึ้น
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้อาเจียน
มึนงง สับสนเป็นลม
ปวดศีรษะบริเวณท้ายทอย
ภาวะแทรกซ้อน
หัวใจและหลอดเลือด
หัวใจข้างซ้ายล้มเหลวจากแรงต้านหลอดเลือดสูงขึ้น
Dissecting aortic aneurysms จากผนัง aortic ถูกทำลาย
ผนังหลอดเลือดหนาแข็ง→หัวใจโต กล้ามเนื้อหัวใจตาย
สมอง
สมองขาดเลือดจากหลอดเลือดแข็งตัว
สับสน ชัก หมดสติ
Stock จาก multiple aneurysm
ไต
ไตวาย
ตา
หลอดเลือดที่ตาตีบบวมมีเลือดออก
Stroke (โรคหลอดเลือดสมอง)
พยาธิสภาพ
ischemic stroke
เกิดจากการอุดตันของลิ่มเลือดที่ไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือด
เกิดการตีบตันของหลอดเลือดขนาดใหญ่และหลอดเลือดขนาดเล็กในสมอง
hemorrhagic stroke
ผนังของหลอดเลือดสมองขนาดเล็กอ่อนแอทำให้เกิดการฉีกขาดได้ง่าย เลือดที่ออกมาจากการแตกของหลอดเลือดจะรวมตัวกันเป็นก้อนเลือด (hematoma) เข้าไปเบียดแทนที่เนื้อสมองบริเวณที่มีการแตก ของหลอดเลือด ทำให้เนื้อสมองบริเวณนั้นถูกกด
subarachnoid hemorrhage
เกิดจากการแตกของหลอดเลือดที่โป่งพองบริเวณชั้นใต้เยื่อหุ้มสมอง
อาการและอาการแสดง
อาการอ่อนแรง
อาการชา หรือสูญเสียความรู้สึก
มีปัญหาเกี่ยวกับการพูด
มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
การสูญเสียการมองเห็นบางส่วน หรือเห็นภาพซ้อน