Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติความเป็นมาและ ระบบการจัดการศึกษาไทย, นางสาวชนันณัฏษ์ พัฒนวรโชติ…
ประวัติความเป็นมาและ
ระบบการจัดการศึกษาไทย
2. การปฏิรูปการศึกษาช่วงที่1 พ.ศ. 2411–2477 การศึกษาเพื่อความทันสมัย
จัดให้มีการสอบไล่วิชาสามัญ
เปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาคือ ภัยคุกคามจากชาติตะวันตกที่มุ่งแสวงหาอาณานิคมในดินแดนต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ ในการใช้เป็นแหล่งแสวงหาวัตถุ และระบายสินค้าจากประเทศของตน
การศึกษาตามแบบแผนประเพณี มาสู่การจัดการศึกษาแบบสมัยใหม่
ตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้น เรียกว่า โรงเรียนแพทยากร
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีสุนทรโวหารเรียบเรียงแบบเรียนหลวงขึ้น 1 เล่ม ชุดมูลบทบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบทหลักสูตรวิชาชั้นต้น
3. การปฏิรูปการศึกษาช่วงที่2 พ.ศ. 2477-2542 ความเสมอภาคทางการศึกษา
แผนการศึกษาที่มุ่งจัดขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงของสังคมไทยในปัจจุบันมุ่ง
หลักสูตรของโรงเรียนและมหาวิทยาลัยจะต้องขยายให้สูงขึ้นเท่าเทียม อารยประเทศ
การจัดการศึกษาจะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎรทุกชนชั้น
ความเสมอภาคทางการศึกษาซึ่งเกิดเนื่องจากมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
ต้องเทียบหลักสูตรของนานาประเทศ หลักสูตรใดสูงถือตามหลักสูตรนั้น”
ต้องการให้คนไทยรู้จักสิทธิหน้าที่และเสรีภาพในกรอบของกฎหมาย และตระหนักถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบของตนต่อความปลอดภัยของประเทศชาติ มีความเคารพและยึดมั่นในหลักธรรมชาติ
อบรมพลเมืองให้ตระหนักเห็นคุณค่าของระบอบการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
1. การศึกษาสมัยโบราณ สมัยกรุงสุโขทัย สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรีและกรุง รัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2311-2411)
การศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2311-2411)
สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลักษณะการจัดการศึกษาเป็น แบบเดิมทั้งวัดและบ้าน ในส่วนวิชาชีพและวิชาสามัญ มีอักษรศาสตร์ ธรรมชาติวิทยา หรือวิทยาศาสตร์
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย การศึกษาทั้งวิชาสามัญ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์ ส่งเสริมการศึกษาด้านศาสนาเป็นพิเศษ มีการจารึกวิชาความรู้สามัญและวิชาชีพลงในแผ่นศิลาประดับไว้
วัดพระเชตุพนจนมีผู้กล่าวว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย มีการใช้หนังสือไทยชื่อ ประถม ก กา และ ปฐมมาลา
สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงฟื้นฟูการศึกษาด้านอักษร ศาสตร์ วรรณคดี มีการแต่งรามเกียรติ์ซึ่งได้เค้า โครงเรื่องมาจากอินเดียเรื่องรามายณะ ศิลปะ กฎหมาย เช่น กฎหมายตรา 3 ดวง และหลักธรรมทางศาสนา มีการ สังคายนาพระไตรปิฎก
การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893-2310)
วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนา
สอนภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน
การศึกษาด้านอักษรศาสตร์ มีวรรณคดีหลายเล่มที่เกิดขึ้น เช่น สมุทรโฆษคำฉันท์ กำสรวลศรีปราชญ์
เด็กผู้หญิงเรียนรู้การบ้านการเรือนจากพ่อแม่
เด็กผู้ชายได้เรียนวิชาวาดเขียน แกะสลัก และช่างฝีมือต่าง ๆ
วิชาสามัญ มีการเรียนวิชาการอ่านเขียนเลข ใช้แบบเรียนภาษาไทยจินดามณี
การศึกษาในสมัยสุโขทัย (พ.ศ. 1781-1921)
การบังคับสัตว์ที่ใช้เป็นพาหนะในการออกศึก และตำราพิชัยยุทธ
บุตรหลานข้าราชการ เรียนที่สำนักราชบัณฑิตซึ่งตั้งอยู่ในวัง เรียนวิชาศิลปะ ป้องกันตัว เป็นการสอนให้รู้จักการใช้อาวุธ
การเรียนจึงเน้นการเรียนรู้ภาษาบาลี และการศึกษาพระธรรมวินัย
ครูผู้สอนคือพระ
สอนให้เคารพนับถือบรรพบุรุษ
4. การปฏิรูปการศึกษาช่วงที่3 พ.ศ. 2542 : การเปลี่ยนแปลงสังคมโลกให้เป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้
การศึกษาวิจัย สร้างเสริม สนับสนุนแหล่งเรียนรู้และกลไกการเรียนรู้ โดยศึกษาวิจัย
ศึกษาวิจัยเพื่อ สร้างองค์ความรู้ใหม่และการพัฒนาประเทศ
สร้างและการจัดการความรู้ในทุกระดับทุกมิติของสังคม
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนกลายเป็นวัฒนธรรมแห่งการ เรียนรู้
ความพยายามที่จะปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ เพราะความก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการสื่อสาร
การศึกษาได้เห็นได้จากการมีกฎหมายใหม่
การจัดการศึกษาต้องสร้างวิถีการเรียนรู้และ แหล่งการเรียนรู้ โดยมีนวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีเป็นปัจจัยส าคัญของการพัฒนาสู่สังคมแห่งความรู้
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ ป้องกันและแก้ไขปัญหา
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝัง คุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
5. การศึกษาไทยสู่อาเซียนและประชาคมโลก
การให้ความรู้แก่พลเมือง ส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาเพื่อนบ้าน
การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน และจิตสำนึก ของพลเมืองอาเซียน
การจัดหลักสูตรการศึกษาอาเซียนด้วยการส่งเสริมการใช้ ภาษาอังกฤษและภาษาเพื่อนบ้าน
กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กไทยที่สอดรับกับประชาคมอาเซียน
การวิเคราะห์หลักสูตรในส่วนของอาเซียนศึกษา การกำหนด กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพและแข็งแกร่งในประชาคมอาเซียน
นางสาวชนันณัฏษ์ พัฒนวรโชติ 63121684148
ประกาศณียบัตรวิชาชีพครูรุ่น 7 ห้อง 5