Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ, น.ส.ประภัสสร สำเภาทอง เลขที่ 45 รุ่น 37…
บทที่ 2 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก
การให้นม อาหารเสริม
อาหารเสริมในทารก
เริ่มให้อาหารเสริมครั้งแรกเมืออายุ 6 เดือน 6 เดือนแรกให้กินนมแม่อย่างเดียวโดยไม่ต้องให้อาหารอื่นแม้แต่น้ำเพราะนมแม่มีสารอาหารครบถ้วนและเพียงพอหลัง 6 เดือนยังคงให้กินนมแม่จนเด็กอายุ 1-2 ปีหรือนานกว่านั้น
อาหารเสริมที่ให้ครั้งแรกควรบดให้ละเอียด
ให้อาหารเสริมครั้งละชนิดในปริมาณน้อยแต่ละชนิด ควรห่างกัน 4-7 วันถ้าทารกมีอาการแพ้อาหารชนิดนั้นสามารถงดอาหารชนิดนั้นสามารถงดอาหารชนิดนั้นได้ทันที
หลัง 6 เดือน เริ่มให้อาหารเสริม
ทารกแรกเกิด- 6 เดือน
กินนมเเม่อย่างเดียว
อายุ 6 เดือน
อาหาร 1 มื้อ ขวบดละเอียด โดยเริ่มให้แต่น้อยจนครบ 3 ช้อนไข่แดง 1/2 ฟอง ปลา 2 ช้อนหรือตับบด 1 ช้อน ผักสุก 1/2 ช้อน หรือฟักทอง 1/2 ช้อน มะละกอสุก 2 ขึ้นหรือส้ม 2 กลีบ
อายุ 7 เดือน
อาหาร 1 มื้อ ข้าว 4 ช้อน ข้าวบดละเอียด ไข่แดง 1/2 ฟอง ปลา 2 ช้อน หรือหมู 2 ช้อน ผักสุก 1 1/2 ช้อน
อายุครบ 10-12 เดือน
อาหาร 3 มื้อ ข้าวต้มหรือข้าวสวยนุ่ม
อายุ 8-9 เดือน
อาหาร2 มื้อ ข้าว 5 ช้อน โดย ข้าวจะตุ๋นหรือต้มเละๆ หรือ ถ้าจะบดต้องบดหยาบ
ควรให้มื้อเย็น เด็กจะได้อิ่มเเละจะช่วยลดดูดนมตอนกลางคืนได้น้อยลง
คำเเนะนำ
ให้อาหารเสริมครั้งละชนิดในปริมาณน้อย
อาหารเสริมที่ให้ครั้งเเรกควรบดให้ละเอียด เเละลื่นคอ เเล้วค่อยบดหยาบ
การคำนวณนม
ทารกอายุแรกเกิด-1 เดือน
น้ำหนักทารก (กก.) คูณ 150 ซีซี หารด้วย 30
ทารกอายุ 1-6 เดือน
น้ำหนักทารก (กก.) คูณ 120 ซีซี หารด้วย 30
ทารก 6-12 เดือน
น้ำหนักทารก (กก.) คูณ 110 ซีซี หารด้วย 30
หลังจากครบ 1 ขวบขึ้นไป
ข้าวจะเป็นอาหารหลัก ส่วนนมจะลดบทบาทเป็นเพียงอาหารเสริม
marasmus vs kwashiorkor
Kwashiorkor เป็นรูปแบบของการขาดสารอาหารที่เกิดจากการบริโภคโปรตีนไม่เพียงพอในขณะที่ Marasmus เกิดจากการบริโภคโปรตีนไขมันและคาร์โบไฮเดรตไม่เพียงพอ
การส่งเสริมการ
เจริญเติบโต
ความต้องการสารอาหาร
ในเด็กแต่ละวัย
วัยทารก
ทารกต้องการพลังงาน 100 Kcal / kg / day
แหล่งพลังงานที่สำคัญสำหรับทารกคือ นมแม่
เป็นแหล่งมี
พลังงานที่เพียงพอส้าหรับทารกในช่วง 6 เดือนแรก
วัยรุ่น
ความต้องการสารอาหารที่มากกว่าวัยอื่น
คือ แคลเซียม ธาตุเหล็กและวิตามินคและต้องการพลังงาน 1600-2300 Kcal/kg/day
ถ้าวัยรุ่นได้แคลเซียมไม่พอจะเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุน
พลังงานที่เด็กควรจะได้รับตามน้ำหนักของเด็กแต่ละรายเป็นดังนี
ใช้สูตร Holiday and segar ในการค้านวณพลังงาน
10 กิโลแรก = 100 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม/วัน
10 กิโลต่อมา = 50 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม/วัน
น ้าหนักที่เหลือ = 20 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม/วัน
การประเมินการเจริญ
และภาวะโภชนาการ
การชั่งน้ำหนัก:อายุ บอกความรุนแรงของโรคขาด
สารอาหาร
สูตรค้านวณน้ำหนักเทียบกับอายุตามเกณฑ์มาตรฐาน
3-12 เดือน = (อายุ (เดือน) + 9)/2
อายุ 16 ปี = {(อายุเป็นปีคูณ 2) + 8 กิโลกรัม
อายุ 7-12 ปี = [(อายุเป็นปีคูณ7)-5]/2 กิโลกรัม
ขนาดเส้นรอบศีรษะมีความสัมพันธ์ค่อนข้างสูงกับขนาดของสมองจึงใช้เป็นเครื่องมือประเมินการเจริญเติบโตขนาดของสมองและช่วยในการวินิจฉัยความผิดปกติของระบบประสาทแรกเกิด
ความยาว HC = 35 เซนติเมตร
ในระยะ 6 เดือนแรกเพิ่มขึ้นเดือนละ1.5 เซนติเมตร
ในระยะ 6 เดือนหลังเพิ่มขึ้นเดือนละ0.5 เซนติเมตร
ในขวบปีที่ 2 จะเพิ่มขึ้นปีละ2-3 เซนติเมตร
ในขวบปีที่ 3 จะเพิ่มขึ้นปีละ 0. 5-2 เซนติเมตร
อายุ 3-10 ปีจะเพิ่มขึ น 1 เซนติเมตรทุกๆ 3 ปี
ปัญหาโภชนาการใน
เด็กและการดูแล
โรคปากนกกระจอก
จากขาดวิตามินบีสอง นม ไข่ เนื้อสัตว
โรคตาบอดแสง
จากขาดวิตามินเอ พืชผักสีเหลือง ไข่แดง
โรคเหน็บชา
จากการขาดวิตามินบีหนึ่ง
Marasmus
โรคโลหิตจาง
จากการขาดเหล็ก ผักแว่น ไข่แดง เนื อสัตว์
Kwashiorkor
การแก้ปัญหาพฤติกรรมผิดปกติตามวัย
ดูดนิ้ว อิจฉาน้อง
พฤติกรรมอิจฉาน้อง
สาเหตุ
มีน้องใหม่
รู้สึกว่ากำลังถูก
แบ่งปันความรัก
น้องอิจฉาพี่ที่ได้เสื้อใหม่ตลอดในขณะที่
ตนเองต้องรับที่พี่ใส่แล้ว
การแก้ไข
เด็กควรได้รับการ
กระตุ้นให้ช่วยดูแลน้อง
และต้อง
ทำทุกอย่างให้เด็กรู้ว่ายังเป็นที่รักของบิดามารดา
การดูดนิ้วหัวเเม่มือ
สาเหตุ
พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ( Learned habit / behavior )
เด็กจะดูดนิ้วเพื่อเป็นการกระตุ้นตนเอง ( Self – stimulation )
เด็กดูดนิ้วเพื่อเป็นการปลอบตนเอง ( Self – soothing )
ผลกระทบ
ระยะยาวถ้าไม่เลิกส่งผลการผิดรูปของฟัน
ปัญหาเกี่ยวกับนิ้วมือและเล็บ
ปัญหาด้านจิตใจ
ปัญหาความสัมพันธ์โดนเพื่อนล้อ
โดนพ่อแม่ตำหนิหรือลงโทษ
การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ สติปัญญาสังคมจริยธรรมตามวัย
พัฒนาการเด็กต้องครอบคลุม 4 ด้าน
1.พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว
ได้แก่ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ เช่น ชันคอ ท่านอนค่้า ยกศีรษะได้ chest up เกาะเดิน และกล้ามเนื้อมัดเล็ก
เช่น คว้าวัตถุที่อยู่ใกล้ หยิบของด้วยนิ้วหัวแม่มือ
ร่วมกับนิ้วอื่นได้ ต่อบล็อกไม้ จับดินสอและใช้กรรไกร
2.พัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม
10-12 เดือน
ดื่มน้ำจากแก้ว
16-18 เดือน
ใช้ช้อนตักอาหารแต่ยังหกเล็กน้อย
7-9 เดือน
กลัวคนแปลกหน้า
19-24 เดือน
แปรงฟันโดยมีผู้ช่วยล้างและเช็ดมือเองได้ใส่กางเกงยางยืดได้
3.พัฒนาการด้านสติปัญญาและจริยธรรม
โดยวิธีศึกษาวิเคราะห์ค้าตอบที่บุคคลให้เหตุผลอธิบายการแสดงออกของพฤติกรรมในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นปัญหาทางจริยธรรมและนำมากำนดเป็นขั้นพัฒนาการทางจริยธรรม
4.พัฒนาการด้านภาษา ความเข้าใจภาษา และแสดงออกทางภาษา
น.ส.ประภัสสร สำเภาทอง เลขที่ 45 รุ่น 37 ปี 2 รหัสนักศึกษา 62111301047