Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง -…
บทที่8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
การประเมินอาการ
ทางระบบประสาท
1.การซักประวัติ
ประวัติที่กี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคคิดรู้
และการรู้สติ ในการประเมินควร ซักถามข้อมูลจากผู้ป่วย โดยตรงแต่ในบางครั้งผู้ป่วยอาจสูญเสียความจาหรือขาด ความสามารถในการติดต่อสื่อสารหรืออาจอยู่ในภาวะหมดสติ จึงต้องซักถามจากญาติเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
-ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย เช่น
อาการปวดศีรษะ ตามัว อาเจียน
อาการของการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
อาการชัก อาการซึมลง
ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรมและบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
เช่น อาการหลงลืม สติปัญญา
การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
ระดับการรู้สึกตัว ประสาทสมองการเคลอื่นไหวการรับความรู้สึก
การประเมินเกี่ยวกับกระบวนการคิดจะมีการประเมินสภาพทั่วไป
และหน้าที่ของการคิด 1.การประเมินเกี่ยวกับการเรียนรู้สติ
ระดับความรู้สึกตัว
(Level of Consiousness)
• Full or Alert เป็นภาวะที่มีระดับการรู้สติเป็นปกติ
• Confusion เป็นภาวะที่สูญเสียความสามารถในการคิด มีความสับสน
Stupor เป็นระยะที่ซึมมาก หลับมากกว่าตื่น ต้องกระตุ้นด้วยความเจ็บจึง จะลืมตา หรือปัดป้อง
Semicoma เป็นอาการกึ่งหมดสติ หลับตลอดเวลา ตอบสนองต่อความ เจ็บแรง ๆ อาจมีการขยับแขน ขาหนี อย่างไร้ทิศทาง และมีรูม่านตายังมี ปฏิกริยาต่อแสงอย
Coma เป็นภาวะที่หมดสติ ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตนุ้ อนื่ ๆ นอกจาก ความเจ็บปวดอย่างรุนแรง ในลักษณะเกร็ง reflex ต่าง ๆ อาจมีอยู่หรือ หายไปก็ได้
การประเมินทางระบบประสาท
2.4การประเมนิการเคลื่อนไหวและกาลังของแขนขา ประเมนิความแข็งแรงของกลา้มเนื้อ(Motorpower)
•เกรด/ระดับ 0 = กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต/แขนหรือขาไม่มีการเคลื่อนไหวเลย
เกรด/ระดับ 1 = กล้ามเนื้อไม่มีแรงหดตัวแต่ใยกล้ามเนื้อหดตัวได้/มีการ เคลื่อนไหวปลายนิ้วมือ-เท้าได้เล็กน้อย
•เกรด/ระดับ2=กล้ามเนื้อมีแรงที่จะเคลื่อนไหวข้อตามแรงโน้มถว่งได
•เกรด/ระดับ 3 = แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดไว้ไม่ได้
•เกรด/ระดับ 4 = แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดได้น้อยกว่าปกติ
•เกรด/ระดับ 5 = แขนหรือขามีกาลังปกติ
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง (Signs of meningeal irritation)
คอแข็ง (Stiff neck )
Brudzinki’s sign จะให้ผลบวกเมื้องอศีรษะและ คอให้คางชิดอกแล้วมีการตอบสนองโดยการงอข้อาและขาทั้งสอง ข้าง
Kernig sign ให้ผู้ป่วยนอนหงายราบหนุนหมอน ใช้มือข้าง หน่ึงประคองจับข้อเท้าอีกข้างวางบริเวณข้อเข่าผู้ป่วย จากน้ันงอ ข้อสะโพกและเข่าเป็นมุมฉาก แล้วค่อยๆเหยียดเขา่ออกถ้าผู้ป่วย ปวดและมีอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ hamstrings แสดงว่า Kernig sign ให้ผลบวก
Glasgow
Coma Scale
: GCS