Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาทระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง,…
-
-
-
-
อาการและอาการแสดง
😄ระยะแรกผู้ป่วยมักมีอาการนำ ได้แก่ อาการไข้ปวดศีรษะครั่นเนื้อครั่นตัวก่อนเกิดอาการทางสมองบางรายอาจมีอาการอื่น ๆ จากเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคนำมาก่อนเช่น
•คางทูม (mumps) ทำให้เกิดต่อม parotic อักเสบ
•หัด (measles) หรืองูสวัดจากเชื้อ herpes Zoster ทำให้เกิดพื้นที่ผิวหนัง
การวินิจฉัย
😍การตรวจ MRI เพื่อหารอยโรคถ้าเป็นการติดเชื้อจาก herpes simplex virus จะพบการอักเสบเฉียบพลันและพบอาการสมองคั่งน้ำและเนื้อสมองนิ่มโดยเฉพาะรอบ ๆ บริเวณ temperal lobes การตัดชิ้นเนื้อสมอง (Brain blopsy) จะให้ผลการวินิจฉัยที่เฉพาะเจาะจงและแน่นอน
การรักษาสมองอักเสบ
😎การรักษาเฉพาะเพื่อทำลายเชื้อโรค "ปัจจุบันมียาที่มีฤทธิ์ทำลายเชื้อไวรัสได้บางชนิด ได้แก่ Acyclovir มีฤทธิ์ต่อเชื้อ herpes virus จึงควรรีบพิจารณาให้ในรายที่มีอาการทางคลินิกเข้าได้กับสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อนี้•สำหรับไวรัสชนิดอื่น ๆ ยังไม่มียาต้านเชื้อการรักษาหลักจึงเป็นการรักษาประคับประคอง
😎การรักษาประคับประคอง" ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่ายเนื่องจากไม่รู้สึกตัว "ในรายที่มีอาการชักบ่อยๆเป็นแบบ status epilepticUS ต้องให้การรักษาแบบ status epilepticus
อาการและอาการแสดง
🤓อาการผิดปกติทางระบบประสาทอาการและอาการแสดงของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงปวดศีรษะและคลื่นไส้อาเจียนมีการเปลี่ยนแปลงของความรู้สึกตัวตั้งแต่ซิมเล็กน้อยจนถึงหมดสติมากกว่าร้อยละ 50 ตรวจพบเส้นประสาทตาบวม (papilledema) ได้ประมาณร้อยละ 25
-
-
การวินิจฉัย
•จากการซักประวัติและตรวจร่างกายโดยเฉพาะการอธิบายลักษณะของการชัก
•เจาะเลือดเพื่อแยกสาเหตุจากปัญหาเมตาบอลิกและอิเล็กโทรลัยท์
•ตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าสมอง
•ในบางรายอาจทำ CT, MRI หรือเจาะหลัง
-
-
-
- การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
🙄การลืมตา (eye opening)
ลืมตาได้เอง4คะแนน
ลืมตาเมื่อเรียก3คะแนน
ลืมตาเมื่อรู้สึกเจ็บปวด2คะแนน
ไม่ลืมตาเลย 1 คะแนน
-
-
-
-
-
-
-
-
-