Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช, นศพต.สุประภา ลาลุน เลขที่ 54 -…
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช
1.การตระหนักรู้ในตนเอง
และการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
มโนมติพื้นฐานในการรู้จักตนเอง
อัตตา/ความเป็นตัวตนของตนเอง
ลักษณะประจำตัว
ทัศนคติ
ความต้องการ
แรงกระตุ้น
พฤติกรรม
ความรู้สึกนึกคิด
ค่านิยม
อัตมโนทัศน์
การมองเห็นตนเองว่าเป็นอย่างไร
เป็นแนวคิดที่ตนเองมีต่ออัตตา
เป็นการรับรู้+ประเมินผลที่บุคคลมีต่อตนเอง
อัตมโนทัศน์พัฒนามาจากปฏิสัมพันธ์ระหวาสงบุคคล+สิ่งแวดล้อม
การรู้จักตนเอง/การตระหนักในตนเอง
1.การรับรู้รูปแบบของตน
แนวคิดของโรเจอร์ส
ตัวตนของบุคคล
ตนตามที่รับรู้
ตนตามความเป็นจริง
ตนตามอุดมคติ
แนวคิดของโบลส์ และดาเวนพอร์ท
ตนตามที่คาดหวัง
ตนตามการรับรู้
ตนตามความเป็นจริง
ตนตามที่ผู้อื่นคาดหวัง
ตนตามที่ผู้อื่นรับรู้
2.การรู้จักตนในบริบทของสิ่งแวดล้อม
แนวคิดของโจเซฟ ลุฟท์+แฮรี่ อิงแฮม
เป็นการตรวจสอบตนเองเพื่อรู้จักตนเอง
ในบุคลิกลักษณะต่างๆ
ส่วนที่ 1 บริเวณที่เปิดเผย
ส่วนที่ 2 บริเวณจุดบอด
ส่วนที่ 3 บริเวณความลับ
ส่วนที่ 4 บริเวชอวิชชา
การเปิดเผยตนเอง
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปิดเผยตนเอง
2.คนที่เราชอบและไว้ใจ
3.คนที่มีศักยภาพสูง
คนที่เข้าสังคมเก่ง
5.เพศหญิง
ลักษณะคนในแต่ละวัฒนธรรม
1.ขนาดของกลุ่ม
ข้อดี
เข้าใจพฤติกรรมตนเองมากขึ้น
เข้าใจตัวตนของผู้ส่งสาร
กรเปิดเผยตนเองของผู้สื่อสาร
ข้อเสีย
อาจได้รับการปฎิเสธจากสังคม
การเปิดเผยตนเองมากเกินไป อาจทำให้เป็นข้อบกพร่องที่ทำให้ไม่ได้รับการสนับสนุน
การตระหนักรู้ในตนเอง
ขั้นตอนการตระหนักรู้
1.โดยการประเมินโดยตนเอง
2.โดยการประเมินจากผู้อื่น
3.การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้รับจากทั้งการประเมินโดยตนเองและการประเมินจากผู้อื่น
ปัจจัยที่มีผลต่อกาพัฒนา
1.ความต้องการขั้นพื้นฐานของพยาบาล
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
2.ประสบการณ์เกี่ยวกับความรู้สึกที่เคยเกิดขึ้นในอดีต
+ความรู้สึกที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน
3.ค่านิยม ความเชื่อ ทัศนติขิงพยาบาล
ประโยชน์
2.ทำให้ติดต่อกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ทำให้ทราบถึงความเครียดที่ตนเองกำลังมีอยู่+ควบคุมความเครียดได้
การใช้ตนเองเพื่อการบำบัดทางจิต
ต้องรู้จักตนเองเพื่อเข้าใจความรู้สึก ความคิด ความต้องการของผู้ป่วย + พยาบาลช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้ความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง = เรียนรู้ใหม่ สู่โลกความเป็นจริง
2.สัมพันธภาพเพื่อการบำบัดทางจิต
กระบวนการนำสัมพันธภาพที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปทำความรู้จักกัน ติดต่อสัมพันธ์ บุคคลที่สัมพันธ์กันจะได้รับผลกระทบจากกันและกัน
แนวคิด
Sullivan
เชื่อว่าปัญหาทางด้านจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยจิตเวชที่แสดงออกมาเนื่องจากปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
Peplau+Sullivan ให้ความสำคัญของการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อแก้ไขปัญหา
สัมพันธภาพแบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ประเภทสัมพันธภาพ
สังคม
ค่านิยมขึ้นอยู่กับปทัสถานของสังคม
จุดมุ่งหมายอาจไม่เฉพาะเจอะจง/อาจเพื่อความพึ่งพอใจร่วมกัน
การพบกันไม่สม่ำเสมอ แล้วแต่โอกาส
การดำเนินของสัมพันธภาพเป็นไปตามตวามต้องการร่วมกัน
ทุกคนมีส่วนร่วมในการกำหนดการดำเนินของสัมพีนธภาพ
ระยะเวลาในการพบไม่มีหลักเกณฑ์กำหนดแน่นอน
การเปิดเผยตนเองเป็นไปร่วมกัน
การสิ้นสุดสัมพันธภาพไม่มีการวางแผน
บำบัด
พยาบาลยอมรับผู้ป่วยโดยไม่ตัดสิน
วัตถุประสงค์เพื่อช่วยผู้ป่วยเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
จุดมุ่งหมายกำหนดขึ้นร่วมกันเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย
มีการวางแผนเพื่อพบผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
พยาบาลเป็นผู้รับผิดชอบในการกำหนดแบบแผนการดำเนินการของสัมพันธภาพ
ระยะเวลาในการพบ การสิ้นสุด แน่นอน
พยาบาลอาจเปิดเผยตัวเองบางส่วน
การสิ้นสุดสัมพันธภาพมีการวางแผน
คุณลักษณะที่จำเป็นที่พยาบาลต้องมี
การยอมรับ คือ การยอมรับความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนของผู้ป่วยโดยไม่ติดสินหรือตำหนิ
ความสม่ำเสมอ คือ ความสม่ำเสมอในการติดต่อ พูดคุย หรือพบกับผู้ป่วย
ความจริงใจ คือ ความจริงใจที่จะให้ความช่วยเหลือ
องค์ประกอบ
1.การสร้างความไว้วางใจ
2.ความจริงใจ
3.การเข้าใจความรู้สึกของผู้ป่วย
4.การยอมรับ
5.มีความรู้สึกในแง่ดี
6.การตระหนักรู้ในตนเอง และการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
หลักการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
1.การสร้างสัมพันธภาพต้องกำหนดขอบเขตของการสร้างสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ
2.การสร้างสัมพันธภาพจะต้องอยู่บนพื้นฐานของการยอมรับในศักดิ์ศรี และความมีคุณค่าของความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย
3.หัวใจของการสร้างสัมพันธภาพจะต้องอยู่ที่การสร้างความไว้วางใจ
4.การสร้างสัมพันธภาพในผู้ป่วยที่มีปัญหาจิตสังคม
5.ใช้เทคนิคการสื่อสารและการสร้งสัมพันธภาพเน้นการเป็นผู้ฟังที่ดี
6.การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดในระยะแรก เน้นการกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ระบายอารมณ์และนำสู่การเข้าใจอารมณ์ของตนเอง
7.การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดด้วยการเสริมสร้างพฤติกรรมที่เหมาะสมในผู้รับบริการ เน้นที่การกระตุ้นด้วยการเรียนรู้ใหม่
ขั้นตอนในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ต้องมีการเตรียมการสร้างสัมพันธภาพ
1.การเริ่มต้นสร้างสัมพันธภาพ
เลือกผู้ป่วยที่อยู่ในความรับผิดชอบที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
2.การแก้ไขปัญหา
เพื่อส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ปัญหาที่พบ
1.พยาบาลไม่สามารถจับประเด็นของผู้ป่วยได้
2.ปัญหาของการถ่ายโยงความรู้สึก
3.ปัญหาของการเผชิญการถ่ายโยงความรู้สึก
3.การยุติการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
เพื่อประเมินผลความสำเร็จของเป้าหมาย
เพื่อตรวจสอบให้แน่ใจถึงการยุติการบำบัด
นศพต.สุประภา ลาลุน เลขที่ 54