Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารเพื่อการบำบัด นศพต.สุพรรษา สมจิโน เลขที่…
การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารเพื่อการบำบัด
นศพต.สุพรรษา สมจิโน เลขที่ 55
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
เทคนิคที่ช่วยส่งเสริมความมีคุณค่า
การแสดงการระลึกได้ (giveing recognition)
การแสดงความรู้จัก ความสนใจและยอมรับความเป็นบุคคลของผู้ป่วย ความสนใจเน้นความมีคุณค่าและการให้เกียรติ
การยอมรับ (Accepting or showing acceptance) การแสดงยอมรับและเข้าใจความรู้สึกความคิด พฤติกรรมของผู้ปวย ซึ่งการยอมนี้ไม่ได้หมายถึงการเห็นด้วยกับผู้ป่วย
การเสนอตัวเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย (offering self)
การที่พยาบาลเสนอความตัวเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยด้วยความจริงใจและสม่ำเสมอถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะไม่ขอความช่วยเหลือและไม่พร้อมสื่อสารกับพยาบาลซึ่งทำให้ผู้ป่วยรู้สึกอบอุ่น
การฟังอย่างตั้งใจ (Active listening)
ฟังทุกถ้อยคำที่ผู้ป่วยพูดออกมาก
ทำความเข้าใจในความคิดความรู้สึกผู้ป่วย
ทำความเข้าใจในสิ่งที่ผู้ป่วยพูด
เป็นการแสดงออกถึงการยอมรับมองเห็นคุณค่าของผู้ป่วย
เทคนิคที่กระตุ้นเปิดเผยตนเอง
การใช้คำถามกว้างๆ (giving broad opening stage) เป็นคำถามปลายเปิด ไม่มีระบุไปยังเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
การใช้คำถาม (Questioning)
การใช้คำถามปลายเปิด (opening-ended question) อะไร ทำไม อย่างไร
การใช้คำถามปลายเปิด (Closed-end question ) เช่น ใช่ ไม่ใช่
กระตุ้นให้พูดต่อ (giving general lead)
เพื่อสนทนาดำเนินต่อไปและทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าพยาบาลให้ความสนใจ ตั้งใจฟังและต้องการให้ผู้ป่วยพูดต่อ เช่น อย่างไร เล่าสิ เกิดอะไรขึ้น
ใช้กรณีที่เกิดการหยุดชะงักความคิด คิดไม่ออกว่ากำลังพูดอะไร
มีเหตุการณ์ที่ขัดจังหวะการสนทนาพยาบาลจึงทบทวนเรื่องเดิมแล้ใช้เทคนิคการกระตุ้นให้พูดต่อ
การค้นหาข้อมูลให้มากขึ้น (exploring)
การเจาะลึกเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ผู้ป่วยกล่าวถึงอย่างผิวเผินไม่ชัดเจน
การใช้ความเงียบ (using silence) เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้รวบรวมความคิด ทบทวนสิ่งที่พูดไปแล้ว
การบอกกล่าวสิ่งที่สังเกตเห็นในตัวผู้ป่วย (making observation or sharing observation) การที่สังเกตเห็นหรือรับรู้ในตัวผู้ป่วยโดยเฉพาะกิริยาท่าทางที่แสดงออกถึงอารมณ์ของผู้ป่วยเพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยสำรวจตนเองและบอกถึงความรู้สึก
เทคนิคที่ช่วยทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน
การทบทวนซ้ำ (restating) เป็นการกล่าวซ้ำ
การสะท้อนความรู้สึก (Reflecting) สะท้อนเพื่อให้ผู้ป่วยได้ไตร่ตรองพูดและประเมินความรู้สึกตนเอง
การขอความกระจ่าง (Seeking clarification or clarifying) การขอให้ผู้ป่วยอธิบายในสิ่งที่คลุมเคลือให้เข้าใจตรงกัน
การตรวจสอบความเข้าใจตรงกัน (Validating or seeking consensual validation)
เทคนิคการเอื้อประโยชน์ต่อการตัดสินใจ
การให้ข้อมูล(giving informarion) การให้ผู้ป่วยควรทราบ หรือผู็ป่วยถาม
เทคนิคที่ช่วยพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง
การมุ่งความสนใจไปจุดใดจุดหนึ่ง (Focus)
การให้ความจริง (presenting reality)
การสรุป (summarizing)
เทคนิคอื่นๆ
การลำดับเหตุการณ์
กระตุ้นให้ประเมินตนเอง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้เปรียบเทียบ
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยวางแผน
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยอธิบายสิ่งที่ได้รับรู้มา
การตั้งข้อสงสัย
เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด
การให้กำลังใจโดยใช้คำพูดทั่วไปที่เป็นความเคยชิน
การให้ความเห็นดีด้วยหรือเห็นพร้องกับผู้ป่วย
การแสดงความไม่เห็นด้วยกับความคิดและพฤติกรรมของผู้ป่วย
การร่วมเห็นด้วยกับผู้ป่วย
การคัดค้านความคิดเห็นของผู็ป่วย
การให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยด้วยความคิดและวิธีการของพยาบาลเอง
การเรียกร้องการพิสูจน์จากผู็ป่วยหรือการท้าทาย
การพูดซ้ำๆที่เป็นบบเดียวกัน
การแก้ตัว