Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้และการประยุกต์สู่การเรียนรู้, สมาชิกกลุ่ม …
ทฤษฎีการเรียนรู้และการประยุกต์สู่การเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นสากล
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดร์ค (Thorndike's Classical Connectionism)
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยจะทดลองจนกว่าจะเจอรูปแบบการตอบสนองที่ดีที่สุด
กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดร์ค
กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
ผู้เรียนพร้อมทั้งกายและใจ
กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse)
มีการนำการเรียนรู้มาใช้บ่อย ๆ
กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
ฝึกบ่อย ๆทำให้การเรียนรู้ถาวร
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect)
เมื่อได้รับผลที่พอใจจะเรียนรู้ต่อไป
หลักการจัดการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนลองผิดลองถูก
สร้างความหร้อมให้แก่ผู้เรียน
ให้ผู้เรียนเข้าใจแล้วฝึกฝนบ่อย ๆ จนเกิดทักษะ
ฝึกนำการเรียนรู้ไปใช้บ่อย ๆ เพื่อเกิดการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนได้รับผลที่พอใจ เพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข(Conditioning Theory)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของพาฟลอฟ
การเรียนรู้เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ
กฎแห่งการลดภาวะ การตอบสนองลดลงหากได้รับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขอย่างเดียว
กฎแห่งการจำแนกความแตกต่าง เกิดการเรียนรู็เมือ่มีการวางเงื่อนไข
หลักการจัดการเรียนรู้
นำความต้องการธรรมชาติของผู้เรียนมาเป็นสิ่งเร้า
จัดกิจกรรมาการเรียนรู้ให้ต่อเนื่อง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนี่องของกัทธรี
กฎแห่งความต่อเนื่อง
เมื่อมีสิ่งเร้าจะมีการตอบสนอง และเมื่อมีสิ่งเร้าเดิมอีกก็จะตอบสนองอีก
กฎการกระทำครั้งสุดท้าย
หากการเรียนรู้สมยูรณ์แล้ว มีสถานการณ์ใหม่เกิดขึ้น จะทำแบบครั้งสุดท้ายที่เรียนรู้
หลักการจูงใจ
การเรียนรู้เกิดจากการจูงใจมากกว่าการเสริมแรง
หลักการจัดการเรียนรู้
สอนส่วนย่อยให้เรียนรู้ได้ถูกต้อง
จบบทเรียนโดยให้เนื้อหาถูกต้อง เพราะผู้เรียนจำสิ่งสุดท้าย
มีการจูงใจผู้เรียน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์
การกระทำที่ได้รับการเสริมแรง มีแนวโน้มจะเกิดขึ้นอีก
การเสริมแรงที่คงทนคือการเสริมแรงที่แปรเปลี่ยน
การเสริมแรงช่วยปรับนิสัยที่ต้องการได้
การลงโทษเรียนรู้เร็วและลืมเร็ว
หลักการจัดการเรียนรู้
ต้องเสริมแรงหลังจากมีการตอบสนองที่เหมาะสม
ต้องเปลี่ยนรูปแบบการเสริมแรงด้วย
งดการเสริมแรงแทนการทำโทษ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของวัตสัน
พฤติกรรมสามารถทำให้ลดลงและหายได้
หลักการจัดการเรียนรู้
จัดสิ่งเร้าให้สอดคล้องกับภูมิหลังและความต้องการของผู้เรียน
ครูแสดงท่าทีที่อบอุ่นและเข้าใจ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism)
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิด
(เน้นกระบวนการทางความคิด)
ทฤษฎีเกสตัลท์
ลักษณะการเรียนรู้
การรับรู้
กฎแห่งความคล้าบคลึง
กฎแหงความใกล้เคียง
กฎแหงความใกล้ชิด
กฎแห่งความต่อเนื่อง
กฎแห่งความชัดเจน
การหยั่งเห็น
หลัการจัดการเรียนรู้
ต้องส่งเสริมการคิดเพื่อใหเกิดการเรียนรู้
จัดประสบการณ์ใหม่ที่สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม และหลากหลาย
จัดเนื้อหาให้ต่อเนื่อง
เสนอเนื้อหาเพียงบางส่วน
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
พัฒนาการทางสติปัญญา
ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส (0-2)
ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด(2-7)
ขั้นการคิดรูปธรรม(7-11)
ขั้นการคิดแบบนามธรรม(11-16)
กระบวนการทางสติปัญญา
การซึมซับหรือการดูดซึม(assimilation)
การปรับและการจัดระบบ(accommodation)
การเกิดความสมดุล(equilibration)
หลักการจัดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
ผู้เรียนมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน
สอนรูปธรรม(ส่วนรวม)ก่อนนามธรรม(ส่วนย่อย)
จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญของบรูนเนอร์
มนุษย์เลือกรับรู้สิ่งที่ตนสนใจ
การเรียนรู้เกิดจากการค้นพบด้วยตนเอง
พัฒนาการทางสติปัญญา
ขั้นการกระทำ
ขั้นคิดจินตนาการ/สร้างมโนภาพ
ขั้นใช้สัญลักษณ์/ความคิดรวบยอด
หลักการจัดการเรียนรู้
จัดโครงสร้างเนื้อหาให้เหมาะกับผู้เรียน
ส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ให้เกิดความคิดรวบยอด
ให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระ เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
จัดการเรียนรู้ให้เหมาะกับพัฒนาการของผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism)
ให้ความสำคัญกับการเป็นมนุษย์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมมาสโลว์
ความต้องการพื้นฐานทางธรรมชาติของมนุษย์
ขั้นความต้องการทางด้านร่างกาย
ขั้นความต้องการความมั่นคง ปลอดภัย
ขั้นตองการความรักและความเป็นเจ้าของ
ขั้นความต้องการได้รับการยอมรับ นับถือ ยกย่อง
ขั้นความต้องการที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง
peak expereince คือ รู้จักตัวเองตามสภาพจริง จะช่วยให้พัฒนาตนได้เป็นอย่างดี
หลักการจัดการเรียนรู้
จะเรียนรู้ได้ดี ต้องตอบสนองความต้องการพื้นฐานก่อน
ใช้ความต้องการพื้นฐานของผู้เรียนเป็นแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้จะช่วยให้ผู้เรียนรู้จักตนเองตามสภาพความเป็นจริง
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเจอร์
เรียนรู้ได้ดีเมื่อผ่อนคลายและเป็นอิสระ
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยครูชี้แนะและอำนวยความสะดวก
หหลักการจัดการเรียนรู้
จัดสภาพแวดล้อมที่อบอุ่นและปลอดภัย
จัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ
ครูเป็นผู้ชี้นำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ของตน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน (Electicism)
กานเย่
(พฤติกรรมนิยม+พุทธินิยม)
ประเภทของการเรียนรู้
การเรียนรู้สัญญาณ
การเรียนรู้สิ่งเร้า-ตอบสนอง
การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง
การเชื่อมโยงทางภาษา
การเรียนรู้ความแตกต่าง
การเรียนรู้ความคิดรวบยอด
การเรียนรู้กฎ
การเรียนรู้การแก้ปัญหา
สมรรถภาพการเรียนรู้ของมนุษย์
การเรียนรู้ข้อเท็จจริง
ทักษะทางสติปัญญา
การจำแนก
การคิดรวบยอดเป็นรูปธรรม
การให้คำจำกัดความของความคิดรวบยอด
การเข้าใจกฎและใช้กฎ
การแก้ปัญหา
ยุทธศาสตร์ในการคิด
ทักษะการเคลื่อนไหว
เจตคติ
หลักการจัดการเรียนรู้
ระบบการสอน 9 ขั้น
สร้าความสนใจ
แจ้งจุดประสงค์
กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น
เสนอบทเรียนใหม่
ให้แนวทางการเรียนรู้
ให้ลงมือปฏิบัติ
ให้ข้อมูลย้อนกลับ
ประเมินพฤติกรรมผู้เรียนตามจุดประสงค์
ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรีนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
:star:
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
:female-teacher::skin-tone-2:
ความหมาย(จอนสัน)
-สมาชิก 3-5 คน ที่มีความแตกต่างกัน
-ช่วยเหลือแลกเปลี่ยนความคิดกัน
**องค์ประกอบ
การพึ่งพาเกื้อกูลกัน
ปรึกษาอย่างใกล้ชิด
ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสมาชิกแต่ละคน
ทักษะปฏิสัมพันธ์ ทักษะการทำงานกลุ่ม
การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม
ผลดี
ผู้เรียนมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
ความสัมพันธ์ของกลุ่มมากขึ้น
ผู้เรียนพยายามบรรลุเป้าหมายมากขึ้น
ประเภท
ทางการ : ครูจับให้
ไม่ทางการ : นักเรียนจับเอง ครูกำหนดรายละเอียดให้
แบบถาวร : ไม่่แนะนำ
หลักการสอน
ครูคอยกำกับดูแลให้คำแนะนำแต่ละกลุ่ม
ประเมินด้วยวิธีที่หลากหลาย
การจัดกิจกรรม (ต้องชี้แจงงานกลุ่มเสมอ)
การวางแผนการสอน
กำหนดจุดมุ่งหมาย
องค์ประกอบ
บทบาทของสมาชิกในกลุ่ม
ตัวอย่างเทคนิค
-STAD
-TGT
-TAI
-Jigsaw
ทฤษฎีพหุปัญญา
:silhouettes:
หลักการสอน
จัดกิจกรรมหลากหลาย ผสมผสานความหลากหลายของความสามารถ การประเมินหลากหลาย
จัดกิจกรรมหลากหลาย
ผสมผสานความหลากหลายของความสามารถ
การประเมินหลากหลาย
เชาวน์ปัญญา : ความสามารถในการแก้ปัญหา เชาวน์ปัญญาไม่อยู่คงที่แต่กำเนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้
เชาวน์ปัญญามี 8 ด้าน
Linguistic Intelligence (ภาษา)
Logical (ตรรกศาสตร์)
Bodily(การเคลื่อนไหว)
Musical Intelligence(ดนตรี)
Interpersonal Intelligence(มนุษยสัมพันธ์)
Intrapersonal Intelligence(เข้าใจตนเอง)
Naturalist Intelligence(ธรรมชาติ)
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล :red_flag:
หลักการสอน
นำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนสนใจ
มีการท่องซ้ำ ทวนซ้ำ ทบทวนให้เกิดความจำระยะยาว
การพัฒนาสติปัญญาเป็นกระบวนการทางสมอง
1.รับข้อมูลจากประสาทสัมผัสทั้ง5
2.การเข้ารหัส เรียกใช้ความจำระยะสั้น
3.การส่งข้อมูลออก ถอดรหัสเป็นความจำระยะยาวขยายความคิด
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ผลงาน
:pen:
มีพื้นจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
หลักการสอน
การออกแบบชิ้นงาน ถ้านำเทคโนโลยีมาช่วยผู้เรียนทำให้เรียนรู้ได้ง่ายขึ้น
จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้หลากหลาย
ครูคอยให้คำแนะนำ
ประเมินด้วยวิธีที่หลากหลาย
ผู้เรียนได้สร้างความคิด นำความคิดนั้นสร้างผลงาน โดยอาศัยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
:tada:
ไวก็อตสกี 1962 สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการเชสาน์ปัญญา
ครูช่วยเหลือ ชี้แนะ และพัฒนาให้ถึงระดับ
ทุกคนมีระดับพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาและศักยภาพที่จะพัฒน
่Jonassen 1992
ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการสร้างเครื่องมือ
สมอง แปลความหมายจากภูมิหลังของแต่ละคน เป็นเรื่องเฉพาะตัว
การเรียนรู้ด้วยการจัดกระทำข้อมูล ไม่ใช่การรับข้อมูล
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสมองและกระบวนการทางสังคม
สมาชิกกลุ่ม
นางสาวนูซีลาร์ ดือราแม รหัสนิสิต 60105010068
นางสาวนูรุลฮูดาย์ เจะเดร์ รหัสนิสิต 60105010069