Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้, ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมหรือกลุ่มความรู้…
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง : :!!:
ลักษณะ :<3:
Vygotsky :pen:
สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา
เด็กทุกคนมีระดับพัฒนาการไม่เท่ากัน ซึ่งสามารถพัฒนาได้ ZPD
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ :red_flag:
ผลการเรียน เน้นกระบวนการสร้างความรู้
เป้าหมายการเรียนรู้ ปฏิบัติงานจริง
ครูมีหน้าที่ช่วยเหลือ ชี้แนะ และพัฒนาให้ถึงระดับที่อยู่ในศักยภาพของผู้เรียน
ผู้เรียนเรียนรู้อย่างเต็มที่ โดยพัฒนาตามศักยภาพของตนเอง
การประเมินผลแบบ goal free evaluation โดยไม่เน้นประเมินแค่วัตถุประสงค์ แต่ประเมินระหว่างทางที่เจอ
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน :!!:
ลักษณะ :<3:
การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผู้เรียนสร้างความคิด และนำความคิดนั้นไปสร้างเป็นชิ้นงาน
การสร้างสรรค์ชิ้นงาน คือ การสร้างความรู้ในตนเอง รู้แล้วนำไปต่อยอดเป็นชิ้นงาน
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ :red_flag:
ออกแบบวัสดุ การนำเทคโนโลยีมาใช้ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดเรียนรู้ได้ดี
มีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงาน
การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดี
ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก ชี้แนะ ให้คำปรึกษา
การประเมิน ใช้วิธ๊การที่หลากหลาย ดูที่ชิ้นงาน และกระบวนการทำงาน
ทฤษฎีพหุปัญญา : :!!:
ลักษณะ :<3:
การ์ดเนอร์ :pen:
เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถในการแก้ปัญหาในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
เชาวน์ปัญญา 8 ด้าน
ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ :pencil2:
ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว :pencil2:
ปัญญาด้านดนตรี :pencil2:
ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ :pencil2:
ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ :pencil2:
ปัญญาเ้านภาษา :pencil2:
ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง :pencil2:
ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา :pencil2:
ทุกคนมีเชาวน์ปัญญาทั้ง 8 ด้าน แต่ขึ้นอยู่ว่าจะเด่นด้านไหน
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ :red_flag:
ควรจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนา
ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านใดสูง ต้องจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
ทำให้ผู้เรียนได้ค้นพบ ความสามารถของตนเอง และเคารพความสามารถของผู้อื่น
การวัดและประเมินผลหลายด้าน ใช้วิธีที่หลากหลาย
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ :!!:
ลักษณะ :<3:
Johnson and Johson :pen:
จับกลุ่ม 3-5 คน
สมาชิกแต่ละคนมีความแตกต่างกัน เพศ เชื้อชาติ ศาสนา
ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิด ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
Slavin :pen:
จับกลุ่ม 4 คน
เก่ง 1 ปานกลาง 2 อ่อน 1
เพื่อนช่วยเหลือเพื่อน
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ :red_flag:
การวางแผนการสอน
การจัดกิจกรรม
กำกับดูแลช่วยเหลือกลุ่ม สรุปประเด็น
การประเมินผล
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ : :star:
Think-Pair-Share , Partner , Pair Check
Jigsaw
Round Robin , Team Word-webbing , Round Table
Color-Coded Co-Op , Cards
องค์ประกอบการเรียนรู้แบบร่วมมือ : :confetti_ball:
การพึงพาและเกื้อกูล
การปรึกษาหารือ
รับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสมาชิก
ทักษะาการทำงานกลุ่มย่อย
การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม
ผลดี :tada:
ผู้เรียนมีความพยายามที่จะบรรลุเป้าหมายมากขึ้น
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนดีขึ้น
ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดี
ประเภทของกลุ่ม :recycle:
เป็นทางการ
ไม่เป็นทางการ
ถาวร
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล :!!:
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ :red_flag:
การท่องจำ ช่วยเก็บความจำระยะสั้นเป็นความจำระยะยาว
การพูดหรือกระทำบ่อย ๆ จะทำให้สมองนำความจำระยะสั้น/ยาวออกมาใช้
เชื่อมโยงความรู้เก่า ที่มีประสบการณ์ เขากับความรู้ใหม่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
ลักษณะ :<3:
การเรียนรู้ของมนุษย์ การทำงานของสมอง
Encoding
การเรียกใช้ ความทรงจำระยะสั้น
Output
ความจำระยะยาว โดยขยายจากของเดิม
Input
การเรียกใช้ ความทรงจำระยะสั้น
เปรียบสมองเหมือนคอมพิวเตอร์
การรู้คิด
รู้ว่าคิดอย่างไร รู้ว่าจะทำอะไร
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นสากล
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม :!!:
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเจอร์ :<3:
มนุษย์จะพัฒนาตนเองได้ดีเมื่ออยู่ในสถานการที่ผ่อนคลายและอิสระ
การจัดบรรยากาศ การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยครูชี้แนะและอำนวยความสะดวก
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์ :pencil2:
ความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษย์เป็นลำดับ 5 ขั้น
ความต้องการความมั่นคง ปลอดภัย
ความต้องการความรัก และความเป็นเจ้าของ
ความต้องการได้รับการยอมรับ นับถือ
ความต้องการที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง
ความต้องการทางด้านร่างกาย
มนุษย์ต้องการที่จะรู้จักตนเองและพัฒนาตนเอง
peak experience (การรู้จักตนเองตามสภาพจริง)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกร :รมนิยม :<3:
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอนไดรค์ :!!:
กฎแห่งการใช้
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งความพร้อม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ ของพาฟลอฟ
การตอบสนอง
กฎแห่งการลดภาวะ
การเรียนรู้
กฎแห่งการจำแนกความแตกต่าง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ ของวัตสัน
การควบคุมพฤติกรรม
การเรียนรู้จะคงทนถาวร
พฤติกรรม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง ของกัทธรี
กฎการกระทำครั้งสุดท้าย
หลักการจูงใจ
กฎแห่งความต่อเนื่อง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ :<3:
การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยน
การเสริมแรง/การให้รางวัล
การเสริมแรง
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน พฤติกรรมนิยม + พุทธินิยม :checkered_flag:
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย่ :smiley:
ประเภทของการเรียนรู้ 8 ประเภท (ตามลำดับขั้น) :forbidden:
การเชื่อมโยงทางภาษา
การเรียนรู้ความแตกต่าง
การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง
การเรียนรู้ความคิดรวบยอด
การเรียนรู้สิ่งเร้า - การตอบสนอง
การเรียนรู้กฎ
การเรียนรู้การแก้ปัญหา
การเรียนรู้สัญญาณ
สมรรถภาพการเรียนรู้ของมนุษย์ 5 ประการ :no_entry:
ยุทธศาสตร์ในการคิด
ทักษะการเคลื่อนไหว
ทักษะเชาว์ปัญญา ทักษะทางสติปัญญา
เจตคติ
การเรียนรู้ข้อเท็จจริง
ระบบการสอน 9 ขั้น :<3:
ขั้นที่ 2 แจ้งจุดสงค์
ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น
ขั้นที่1 สร้างความสนใจ
ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่
ขั้นที่ 5ให้แนวทางการเรียนรู้
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ
ขั้นที่7 ให้ข้อมูลเเอนกลับ
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมหรือกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ :smiley:
ทฤษฎีการพัฒนาทางสติปัญญา :fountain_pen:
เพียเจต์
ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด
ขั้นการคิดแบบรูปธรรม
ขั้นรับรู้ด้วยปรัสาทสัมผัส
ขั้นการคิดแบบนามธรรม
บรูนเนอร์
ขั้นคิดจินตนาการหรือสร้างมโนภาพ
ขั้นใช้สัญลักษณ์และรวบยอด
ขั้นการกระทำ
ทฤษฎีเกสตัลต์ :tada:
การรับรู้
กฎแห่งใกล้เคียง
กฎแห่งความใกล้ชิด
กฎแห่งความคล้ายคลึง
กฎแห่งความต่อเนื่อง
กฎแห่งความชัดเจน
การหยั่งเห็น
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข :red_flag: