Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pregnancy induce Hypertension (PIH) การตั้งครรภ์ทําให้เกิดความดันโลหิตสูง,…
Pregnancy induce Hypertension (PIH) การตั้งครรภ์ทําให้เกิดความดันโลหิตสูง
คือ ภาวะความดันโลหิตสูงซึ่งเกิดขึ้นเฉพาะในระยะตั้งครรภ์มักเกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Pre – Eclampsia
Mild Pre - Eclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงซึ่งเกิดขึ้นในระยะตั้งครรภ์แล้ว 20 สัปดาห์ ร่วมกับการตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ/ หรืออาการบวม กดบุ๋ม น้ําหนักตัวเพิ่มมากกว่า 2 กก./สัปดาห์
Severe Pre-Eclampsia
ค่า Systolic 160 มม.ปรอท หรือมากกว่า หรือค่าความดันโลหิต Diastolic 110 มม.ปรอท
ชั่วโมงตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ 5 กรัม/ลิตร หรือมากกว่าในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง (3 - 4 บวก)
Eclampsia
ผู้ป่วยที่มีอาการของ Severe Pre-Eclampsia ร่วมกับการชัก เกร็ง หมด สติ
ชนิดของหญิงมีครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูง
Chronic Hypertension of whatever cause
ความดันโลหิตสูงกว่าซึ่งเกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Chronic Hypertension with super imposed Pre-Eclampsia or Eclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงในกลุ่ม Chromic Hypertenion of whatever cause โดยมีสาเหตุชักนําอยู่ก่อนแล้ว
Transient of gestational Hypertension
ภาวะความดันโลหิตสูงเกิดขึ้นในระหว่าง ตั้งครรภ์หลัง20สัปดาห์หรือภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอดโดยไม่มีอาการบวมหรือโปรตีนรั่วในปัสสาวะ
Unclassified Hypertensive disorder
ภาวะความดันโลหิตสูง ซึ่งไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ดังกล่าว
ทฤษฎีการเกิด PIH
กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน
พันธุกรรม
การขาดสารอาหาร
การหดเกร็งของเส้นเลือด
การเปลี่ยนแปลงภายในผนังหลอดเลือดชั้นใน
สาเหตุส่งเสริมการเกิด PIH
ผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 17 ปี หรือเกิน 35 ปี
ครรภ์แฝด
ครรภ์ไข่ปลาอุก
Vascular disease
ความดันโลหิตสูง
โรคไต
เบาหวาน
ประวัติการเป็น PIH ในครอบครัว
การขาดสารอาหาร ขาดวิตามิน ในระยะตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
มีการหดรัดตัว และหดเกร็งตัวของเส้นเลือดแดงทั่วร่างกายเป็นผลทําให้แรงดันในหลอดเลือดสูงขึ้น เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆลดลงโดยเฉพาะเลือดที่ไปเลี้ยงรกและมดลูก
เกิดจากการเพิ่มการตอบสนองของเส้นเลือดต่อสารเพิ่มแรงดันโลหิต
พยาธิสรีรวิทยา PIH
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
cardiac output ไม่ลดลงแต่เพิ่มแรงต้านของหลอดเลือดฝอยส่วนปลาย
ความดันโลหิตสูง Hematocrit เพิ่ม
Blood volume มากขึ้นที่ Extra vascular
บวมทั้งตัว
Coagulation intravascular
Platelet ลดลง
ระบบไต
Renal Blood Flow ลดลง
พบโปรตีนในปัสสาวะ
Glomerular Filtration rate ลดลง
ปัสสาวะน้อยลง
creatinine และ urea เพิ่ม
ระบบสมองส่วนกลาง
มีแผลและการบวมในสมอง
ปวดศีรษะ
ชัก
Deep tendon reflex เพิ่มขึ้น
ตับ
มีแผลที่เซลล์ตับร่วมกับการบวม อาจมีเลือดออก
ปวดลิ้นปี่
การดึงรั้งของ capsule ที่ตับ
คลื่นไส้/อาเจียน
ผล SGOT, SGPT เพิ่ม
bilirubinemia เพิ่ม
ระบบสายตา
มีอาการบวม ขาดเลือดไปเลี้ยงที่ตา
ตาพร่ามัว
ตาบอด
ระบบหายใจ
มีการบวมที่เยื่อหุ้มปอด
น้ําคั่งในปอด
รก
เลือดไปเลี้ยงน้อยลง
ทารกเจริญเติบโตน้อยกว่าปกติ
ทารกขาด O2
มีการตายของเนื้อรก
ทารกเสียชีวิต
HELLP Syndrome
H:Hemolysis of red blood cell
EL:Elevated liver enzymes
LP:Low platelete count
ผลต่อมารดา
Eclampsia จะถึงแก่กรรม การตายคือเลือดออกในสมอง และcongestive Heart Failure
รกลอกตัวก่อนกําหนดทําให้ตกเลือดในระยะคลอด และระยะหลังคลอด
ชักเนื่องจากมีการบวมที่สมอง
การมองเห็นผิดปกติ เนื่องจากการขาดเลือดไปเลี้ยงที่ตา
ระบบการหายใจล้มเหลว เนื่องจากมีน้ําคั่งในปอด
ผลต่อทารก
คลอดก่อนกําหนดเนื่องจากรกลอกตัวก่อนกําหนด
น้ําหนักตัวน้อยกว่าปกติ เนื่องจากการไหลเวียนของเลือดที่รกน้อยลง
ขาด O2 เนื่องจากรกมีการเสื่อมสภาพ ขาดเลือดไปเลี้ยง
Acidosis ขณะมารดาชัก เนื่องจากภาวะขาด O2
ถึงแก่กรรม เนื่องจากมีการตายของเนื้อรก
การวินิจฉัย
ประวัติ ความดันโลหิตสูง โรคไต เบาหวาน PIH ในครอบครัว
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องทดลอง
ตรวจเลือดและปัสสาวะ
การวัด BP โดยวิธี Roll over test
การรักษา
ป้องกันไม่ให้เกิดการชัก
ลดอันตรายต่อมารดาและทารกเนื่องจากความดันโลหิตสูง
ทําให้มีการสิ้นสุดของการตั้งครรภ์ในเวลาที่เหมาะสม
การให้ยา
ยาระงับประสาท
Phenobarbital 30 - 60 มก. รับประทานวันละ 3 - 4 ครั้ง
Diazepam. 2 - 5 มก. รับประทานวันละ 3 ครั้ง
ยาขับปัสสาวะ (ในรายที่มีน้ําท่วมปอด)
ยาลดความดัน
Nepresol (Apresalie 25- 50 มก.ใน 5% D/w
1000 cc. Drip ช้า ๆ ไม่เกิน 40 หยด/นาที
ยาระงับการชัก
MgSo4
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะออกน้อยกว่า 30 cc/1 ชม หรือ 100 cc/4 ชม
ร้อนวูบวาบทั่วตัว
ความดันโลหิตลดต่ําลง
Reflex ลดลงกว่า 2+ หรือไม่มีเลย
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
การหายใจลดลง น้อยกว่า 14 ครั้ง/นาที
ซึมเนื่องจากสมองส่วนกลางถูกกด
Magnesium level มากกว่า 6 mEq/dl.
การพยาบาล
การดูแลทารกในครรภ์ที่มารดาเป็น PIH
การเจริญเติบโตดูการเพิ่มน้ําหนักของมารดา
การเพิ่ม Biparietal diameter ของกระโหลกศีรษะเด็ก โดยวิธี Ultrasound
ดูการทําหน้าที่ของรกการทดสอบ Metabolic Function
การทดสอบ Respiratory Function ดูการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
การเจริญของปอด
การพยาบาลมารดาเป็น PIH
การซักประวัติหาภาวะเสี่ยง
การตรวจร่างกายตามระบบ
ส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรค
นางสาวปรียารัตน์ แข็งขัน เลขที่ 64 รหัส 61111301065 ชั้นปีที่ 3 รุ่น 36/1